turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/400/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สมุทยสัจ เป็นสรณะ สัจจะ ๒ เป็นอรณะ ทุกขสัจ เป็นสรณะก็มี เป็นอรณะ
ก็มี ฉะนี้แล.
ปัญหาปุจฉกะ จบ
สัจจวิภังค์ จบบริบูรณ์
วรรณนาปัญหาปุจฉกะ
พึงทราบวินิจฉัยในปัญหาปุจฉกะ ต่อไป
บัณฑิตพึงทราบความที่สัจจะแม้ทั้ง ๔ เป็นกุศลเป็นต้น โดยทำนอง
แห่งนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ในขันธวิภังค์นั่นแล แต่ในอารัมมณติกะทั้งหลาย
สมุทยสัจจะ เป็นปริตตารัมมณะแก่ผู้ยินดีอยู่ในกามาวจรธรรม เป็นมหัคคตา-
รัมมณะแก่ผู้ยินดีอยู่ในมหัคคตธรรม เป็นนวัตตัพพารัมมณะแก่ผู้ยินดีอยู่ใน
บัญญัติธรรม. ทุกขสัจจะ เป็นปริตตารัมมณะซึ่งปรารภกามาวจรธรรมเกิดขึ้น
เป็นมหัคคตารัมมณะในกาลปรารภรูปาวจรธรรมและอรูปาวจรธรรมเกิดขึ้น
เป็นอัปปมาณารัมมณะเกิดในเวลาพิจารณาโลกุตรธรรม ๙ เป็นนวัตตัพพารัม-
ณะในเวลาพิจารณาบัญญัติ. มรรคสัจจะ เป็นมัคคเหตุกะ (มีมรรคเป็นเหตุอาทิผิด สระ)
แม้ในการทั้งปวง ด้วยสามารถเป็นสหชาตเหตุ เป็นมัคคาธิปติในเวลาเจริญ-
มรรคกระทำวิริยะอาทิผิด สระหรือวิมังสาให้เป็นใหญ่ ชื่อว่าเป็นนวัตตัพพธรรมในเวลาที่
ฉันทะและจิตอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอธิบดี. ทุกขสัจจะ เป็นบรรดารัมมณะใน
เวลาพิจารณามรรคของพระอริยะ เป็นมัคคาธิบดีในเวลาพิจารณามรรคของ
พระอริยเจ้าเหล่านั้นนั่นเทียว กระทำให้หนักเป็นนวัตตัพพธรรมในเวลาพิจาร-
ณาธรรมที่เหลือ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/269/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ลานหลวง ขอให้มหาชนจงมาประชุมดูเถิด วันรุ่งขึ้นรับสั่งให้ตกแต่งพระ-
ลานหลวง แล้วตรัสเรียกหาพราหมณ์ให้เข้าเฝ้า. พราหมณ์จึงนำพระมหา-
สัตว์ในตะกร้าแก้วไปวางตะกร้าไว้ ณ ที่ลาดอันวิจิตรนั่งอยู่. พระราชาก็เสด็จ
ลงจากปราสาทแวดล้อมด้วยมหาชนประทับนั่งเหนือราชอาสน์. พราหมณ์
นำพระมหาสัตว์ออกมาแล้วให้ฟ้อน. พระมหาสัตว์แสดงไปตามที่พราหมณ์คิด
ให้แสดง. มหาชนไม่อาจทรงภาวะของตนไว้ได้. ต่างยกผ้าพันผืนโบกไปมา
แล้วฝนตกเบื้องบนพระมหาสัตว์. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ตทาปิ
มํ ธมฺมจารึ แม้ในกาลนั้นเราเป็นผู้ประพฤติธรรมเป็นอาทิ.
ในบทเหล่านั้น บทว่า ตทาปิ คือแม้ในกาลที่เราเป็นนาคราช ชื่อว่า
จัมเปยยกะ. บทว่า ธมฺมจารึ คือประพฤติกุสลกรรมบถ ๑๐. ชื่อว่าผู้
ประพฤติธรรม เพราะไม่ประพฤติสิ่งที่เป็นอธรรมแม้แต่น้อย. บทว่าอุปวุฏฺฐ-
อุโปสถํ คือเข้าจำอุโบสถด้วยการรักษาอริยอุโบสถศีล ประกอบด้วยองค์ ๘.
บทว่า ราชทฺวารมฺหิ กีฬติอาทิผิด สระ คือให้เล่นอยู่ที่ประตูพระราชวัง ของพระเจ้า
อุคคเสนะในกรุงพาราณสี. บทว่า ยํ ยํ โส วณฺณํ จินฺตยิ คือพราหมณ์
หมองูนั้นคิดว่า จงเป็นสีเขียวเป็นต้นเช่นใด. ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
ไว้ว่า นีลํ ว ปีตโลหิตํ สีเขียว สีเหลือง สีแดง เป็นอาทิ.
ในบทเหล่านั้น บทว่า นีลํ ว. วา ศัพท์ เป็นความไม่แน่นอน.
วา ศัพท์ ทำเสียงให้สั้นเป็น ว ศัพท์ เพื่อสะกดด้วยในการแต่งคาถา. ด้วย
วา ศัพท์นั้น ท่านสงเคราะห์เอาความต่างของสี มีสีขาวเป็นต้น ความต่าง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/263/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี
มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีธรรมคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า
ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป
บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส
บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี
มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีคู่หมั้นอาทิผิด อาณัติกะผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า ขอ
ท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป
บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส
บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี
มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีกฎหมายคุ้มครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าว
ว่า ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ
นำไปบอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส
บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี
มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และสตรีมีมารดาปกครองอาทิผิด อักขระผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า
ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป
บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส
บุรุษวานภิกษุว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ขอพระคุณเจ้าจงไปบอกสตรี
มีมารดาบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ และอาทิผิด อักขระสตรีมีบิดาปกครองผู้มีชื่อนี้ว่า ข่าวว่า
ขอท่านทั้งหลายจงเป็นภรรยาสินไถ่ ของบุรุษผู้มีชื่อนี้ ภิกษุรับคำ นำไป
บอก และกลับมาบอก ต้องอาบัติสังฆาทิเสส.
พัทธจักร หมวดที่ ๒ จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 24/185/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หลายย่อมไม่ตกถึงบุคคลนั้น คือว่าวัฏทุกข์ทั้งหลาย ย่อมไม่ตกไปเบื้องบน
บุคคลผู้นั้น. พระเถระชื่อว่า โมฆราชผู้ฉลาดในอนุสนธิ ฟังคาถาว่า ขีณาสว
ภิกษุละบัญญัติเสียแล้ว ดังนี้ มีสติกำหนดคาถาแม้เหล่านั้นแล้วจึงคิดว่า เนื้อ
ความแห่งคาถานี้ ไม่ไปตามอนุสนธิ ดังนี้ เมื่อจะสืบต่อแห่งอนุสนธิตามที่เป็น
ไปอย่างไร จึงกล่าวคำ อย่างนี้ว่า
ก็หากว่า พวกเทวดา พวกมนุษย์
ในโลกนี้ หรือในโลกอื่นก็ดี ไม่ได้เห็น
พระขีณาสพนั้นผู้อุดมกว่านรชน ผู้ประ-
พฤติประโยชน์เพื่อพวกนรชน ผู้พ้นแล้ว
อย่างนั้น เทวดาและมนุษย์เหล่าใด ย่อม
ไหว้พระขีณาสพนั้น เทวดาและมนุษย์
เหล่านั้นย่อมเป็นผู้อันบัณฑิตพึงสรรเสริญ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิธ วา หุรํ วา แปลว่า ในโลกนี้
หรือในโลกอื่น. บทว่า นรุตฺตมํ อตฺถจรํ นรานํ แปลว่า ผู้อุดมกว่านรชน
ผู้ประพฤติอาทิผิด อักขระประโยชน์ เพื่อนรชนทั้งหลายนั้น แม้ก็จริง ถึงอย่างนั้น พระ-
เถระก็มิได้หมายเอาพระขีณาสพอาทิผิด อักขระอื่น หมายเอาพระทศพลเท่านั้น. บทว่า เย
ตํ นมสฺสนฺติ ปสํสิยา เต แปลว่า พวกเทวดาและมนุษย์เหล่าใด ย่อมไหว้
พระขีณาสพนั้นผู้พ้นแล้วอย่างนั้น อธิบายว่า ย่อมไหว้พระผู้มีพระภาคพระองค์
นั้น ด้วยกายหรือด้วยวาจาหรือว่า ด้วยการปฏิบัติตามโดยแท้ พวกเทวดาและ
มนุษย์เหล่านั้น พึงเป็นผู้อันบัณฑิตควรสรรเสริญหรือไม่ บทว่า ภิกษุ
เป็นคำที่พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระโมฆราชเถระ. บทว่า อญฺญาย ธมฺมํ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/808/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อนาปัตติวาร
[๗๓๗] ได้รับบอกแล้ว ๑ ไม่ใช่กษัตริย์ ๑ ไม่ได้รับอภิเษกโดย
สรงสนานให้เป็นกษัตริย์ ๑ พระเจ้าแผ่นดินเสด็จออกจากตำหนักอาทิผิด อักขระที่ผทมแล้ว ๑
พระมเหสีเสด็จออกจากตำหนักอาทิผิด อักขระที่ผทมแล้ว ๑ หรือทั้งสองพระองค์เสด็จออก
จากที่ผทมแล้ว ๑ ไม่ใช่ตำหนักที่ผทม ๑ ภิกษุวิกลจริต ๑ ภิกษุอาทิกัมมิกะ ๑
ไม่ต้องอาบัติแล.
รตนวรรค สิกขาบทที่ ๑ จบ
ปาจิตตีย์ ราชวรรคที่ * ๙
อันเตปุรสิกขาบทที่ ๑
วินิจฉัยอาทิผิด สระในสิกขาบทที่ ๑ แห่งราชวรรค พึงทราบดังต่อไปนี้:-
[แก้อรรถบางปาฐะในสิกขาบทที่ ๑ ]
บทว่า โอรโก แปลว่า ต่ำต้อย.
บทว่า อฺปริปาสาทวรคโต แปลว่า ประทับอยู่ ณ เบื้องบนแห่ง
ปราสาทอันประเสริฐ.
สองบทว่า อยฺยานํ วาหสา แปลว่า เพราะเหตุแห่งพระผู้เป็นเจ้า
ทั้งหลาย มีคำอธิบายว่า ข้าพระพุทธเจ้ารู้ธรรม เพราะพระผู้เป็นเจ้าเหล่านั้น
ได้ชั่วให้เกิดขึ้น.
สองบทว่า ปิตรํ ปฏฺเฐติ ได้แก่ พระราชโอรสต้องการจะเห็นโทษ
แล้วปลงพระชนม์พระราชบิดา.
* บาลีเป็น รตนวรรค.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/337/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องห้ามอุปสมบทคนไม่มีบาตรเป็นต้น
[๑๓๔] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีบาตร
พวกเธอเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนา
ว่าเที่ยวรับบิณฑบาตอาทิผิด อักขระเหมือนพวกเดียรถีย์ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่
พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีบาตร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใดอุปสมบทให้ต้อง
อาบัติทุกกฏ.
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีจีวร พวกเธอเปลือย
กายเที่ยวรับบิณฑบาต คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยว
รับบิณฑบาตเหมือนพวกเดียรถีย์ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มี
พระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
กุลบุตรไม่มีจีวร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใดอุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรผู้ไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร พวก
เธอเปลือยกายเที่ยวรับบิณฑบาตอาทิผิด อักขระด้วยมือ คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน
โพนทะนาว่าเที่ยวรับบิณฑบาตอาทิผิด อักขระเหมือนพวกเดียรถีย์ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่อง
นั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรไม่มีทั้งบาตรทั้งจีวร ภิกษุไม่พึงอุปสมบทให้ รูปใด
อุปสมบทให้ ต้องอาบัติทุกกฏ.
สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทกุลบุตรมีบาตรที่ยืมเขามา เมื่อ
อุปสมบทแล้ว เจ้าของก็นำบาตรคืนไป พวกเธอเที่ยวรับบิณฑบาตด้วยมือ
คนทั้งหลายจึงเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า เที่ยวรับบิณฑบาตเหมือนพวก
เดียรถีย์ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 80/272/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในความเสื่อมเหล่านั้น ท่านพระโคธิกะแล ย่อมเสื่อมจากเจโต
วิมุตอันเป็นไปชั่วคราวนั้นแม้ในครั้งที่ ๒ นี้เรียกว่า ปัตตปริหานิ คือ
ความเสื่อมจากธรรมที่เคยบรรลุแล้ว. เมื่อชนทั้งหลายผู้มีความต้องการ
สิ่งทั่วไปมีอยู่ ความต้องการอันนั้นย่อมเสื่อมไปนี้เรียกว่า อัปปัตตปริหานิ
คือความเสื่อมจากธรรมที่ตนยังไม่บรรลุ คือยังไม่ได้มา. ในความเสื่อม
ทั้ง ๒ เหล่านั้น ในที่นี้ท่านประสงค์เอาความเสื่อมจากธรรมที่เคยบรรลุ
แล้วคือ ปัตตปริหานิ.
ก็คำตอบรับรองของปรวาทีว่า “ ใช้ ” เพราะหมายเอาความ
เสื่อมจากธรรมอันบรรลุแล้วนี้ อนึ่ง ปรวาทีนั้นย่อมปรารถนาชื่อความ
เสื่อมจากธรรมอันบรรลุแล้วนี้จากโลกิยสมาบัติในลัทธิของตนเท่านั้น
ไม่ปรารถนาความเสื่อมจากสามัญญผลทั้งหลาย มีอรหัตผลเป็นต้น แม้
ในลัทธิอื่นท่านก็ไม่ปรารถนาความเสื่อมนั้นแก่บุคคลทั้งปวงในสามัญญ-
ผลทั้งปวง ในภพทั้งปวง ในกาลทั้งปวง อันลัทธินั้นก็สักแต่ว่าเป็นลัทธิ
ของท่านเท่านั้น เพราะฉะนั้นเพื่อจะทำลายข่าย คือลัทธิอันถือผิดทั้งปวง
ปัญหาของสกวาทีอาทิผิด อาณัติกะจึงเกิดขึ้นโดยนัยเป็นต้นอีกว่า พระอรหันต์เสื่อม
จากอรหัตผลได้ในภพทั้งปวงหรือ ในปัญหานั้น ปรวาทีไม่
ปรารถนาความเสื่อมจากอรหัตผล ของพระอรหันต์ผู้เสื่อมมาโดยลำดับ
แล้วก็หยุดอยู่ในโสดาปัตติผล ย่อมปรารถนาความเสื่อมของพระอริยะ
ผู้ตั้งอยู่ในผลทั้งหลายในเบื้องบนเท่านั้น. อนึ่ง ไม่ปรารถนาความเสื่อม
ของพระอรหันต์ผู้ตั้งอยู่ในอรูปภพทั้งหลาย แต่ย่อมปรารถนาความเสื่อม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 8/15/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หมวดที่ ๑๑
[๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓
แม้อื่นอีก เป็นกรรมเป็นธรรม เป็นวินัย และระงับดีแล้ว คือ ให้จำเลย
ให้การก่อนแล้วทำ ๑ ทำโดยธรรม ๑ สงฆ์พร้อมเพรียงอาทิผิด อักขระกันทำ ๑
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ นี้แล เป็น
กรรมเป็นธรรม เป็นวินัย และระงับดีแล้ว.
หมวดที่ ๑๒
[๒๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓
แม้อื่นอีก เป็นกรรมเป็นธรรม เป็นวินัย และระงับดีแล้ว คือ ปรับ
อาบัติแล้วทำ ๑ ทำโดยธรรม ๑ สงฆ์พร้อมเพรียงกันทำ ๑
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตัชชนียกรรมที่ประกอบด้วยองค์ ๓ นี้แล เป็น
กรรมเป็นธรรม เป็นวินัย และระงับดีแล้ว .
ลักษณะกรรมเป็นธรรม ๑๒ หมวด จบ
ข้อที่สงฆ์จำนง ๖ หมวด
หมวดที่ ๑
[๒๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบด้วยองค์ ๓ เมื่อสงฆ์
จำนงจะพึงลงตัชชนียกรรมก็ได้ คือ เป็นผู้ก่อความบาดหมาง ก่อการ
ทะเลาะ ก่อการวิวาท ก่อความอื้อฉาว ก่ออธิกรณ์ในสงฆ์ ๑ เป็นพาล
ไม่ฉลาด มีอาบัติมาก มีมรรยาทไม่สมควร ๑ อยู่คลุกคลีกับคฤหัสถ์ด้วย
การคลุกคลีอันไม่สมควร ๑
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/436/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อุปปัตติภพ เป็นไฉน ?
กามภพ รูปภพ อรูปอาทิผิด สระภพ สัญญาภพ อสัญญาภพ เนวสัญญา-
นาสัญญาภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ ปัญจโวการภพ นี้เรียกว่า อุปปัตติภพ
กรรมภพและอุปปัตติภพดังกล่าวมานี้ นี้เรียกว่า ภพเกิดเพราะอุปาทาน
เป็นปัจจัย.
[๒๖๖] ชาติเกิดเพราะภพเป็นปัจจัย เป็นไฉน ?
ความเกิด ความเกิดพร้อม ความอาทิผิด อักขระหยั่งลง ความเกิดจำเพาะ ความ
ปรากฏแห่งขันธ์ ความได้อายตนะ ในหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์นั้น ๆ
อันใด นี้เรียกว่า ชาติเกิดเพราะภพเป็นปัจจัย.
[๒๖๗] ชรามรณะเกิดเพราะชาติเป็นปัจจัย เป็นไฉน ?
ชรา ๑ มรณะ ๑
ในชราและมรณะนั้น ชรา เป็นไฉน ?
ความคร่ำคร่า ภาวะที่อาทิผิด อาณัติกะคร่ำคร่า ความที่ฟันหลุด ความที่ผมหงอก
ความที่หนังเหี่ยวย่น ความเสื่อมสิ้นอายุ ความแก่หง่อมแห่งอินทรีย์ ในหมู่
สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์นั้น ๆ อันใด นี้เรียกว่า ชรา
มรณะ เป็นไฉน ?
ความเคลื่อน ภาวะที่เคลื่อน ความทำลาย ความหายไป มฤตยู
ความตาย ความทำกาละ ความแตกแห่งขันธ์ ความทิ้งซากศพไว้ ความ-
ขาดแห่งชีวิตินทรีย์ จากหมู่สัตว์นั้น ๆ ของเหล่าสัตว์นั้น ๆ อันใด นี้เรียกว่า
มรณะ
ชราและมรณะดังกล่าวมานี้ นี้เรียกว่า ชรามรณะเกิดเพราะชาติเป็น
ปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 36/120/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประทาน แม้กายก็พึงเศร้าหมอง ซูบผอม แม้การงานก็พึงหยุดชะงัก แม้
พวกอมิตรก็พึงดีใจ แม้พวกมิตรก็พึงเสียใจ ดังนี้ เมื่อสิ่งที่มีความฉิบหาย
เป็นธรรมดาฉิบหายอาทิผิด อักขระไปแล้ว อริยสาวกนั้นย่อมไม่เศร้าโศก ไม่ลำบาก ไม่ร่ำไร
ไม่ทุบอกคร่ำครวญ ไม่หลงงมงาย นี้เรียกว่า อริยสาวกผู้ได้สดับ ถอน
ลูกศร คือ ความเศร้าโศกที่มีพิษ ซึ่งเสียบแทงปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ทำตน
ให้เดือดร้อน อริยสาวกผู้ไม่มีความโศก ปราศจากลูกศร ย่อมดับทุกข์ร้อน
ได้ด้วยตนเอง ขอถวายพระพร ฐานะ ๕ ประการนี้แล อันสมณะ พราหมณ์
เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกนี้ไม่พึงได้.
ท่านพระนารทะ ครั้นกล่าวไวยากรณอาทิผิด อักขระภาษิตนี้จบลงแล้ว จึงได้กล่าว
คาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า
ประโยชน์แม้เล็กน้อยในโลกนี้ อัน
ใคร ๆ ย่อมไม่ได้เพราะการเศร้าโศก
เพราะการคร่ำครวญ พวกอมิตรทราบว่า
เขาเศร้าโศก เป็นทุกข์ ย่อมดีใจ ก็คราวใด
บัณฑิตพิจารณารู้เนื้อความ ไม่หวั่นไหว
ในอันตรายทั้งหลาย คราวนั้น พวก
อมิตรเห็นหน้าอันไม่ผิดปกติของบัณฑิต
นั้น ยิ้มแย้มตามเคย ย่อมเป็นทุกข์ บัณฑิต
พึงได้ประโยชน์ในที่ใด ๆ ด้วยประการ
ใด ๆ เพราะการสรรเสริญ เพราะความรู้
เพราะกล่าวคำสุภาษิต เพราะการบำเพ็ญ-
ทาน หรือเพราะประเพณีของตน ก็พึง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 55/260/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภิกษุทั้งหลายเห็นท่านผู้มีอายุนั้น มาแต่ไกล เพื่อต้องการจะทดลองท่านผู้มีอายุ
นั้น จึงทิ้งกำไม้กวาดหรือภาชนะสำหรับทิ้งอาทิผิด สระหยากเยื่อไว้ข้างใน. เมื่อท่านผู้มี
อายุนั้นมาถึง จึงกล่าวว่า อาวุโส ใครทิ้งสิ่งนี้. ในการกระทำนั้นอาทิผิด เมื่อภิกษุบาง
พวกกล่าวว่า ท่านราหุลอาทิผิด อักขระมาทางนี้. แต่ท่านราหุลนั้นไม่กล่าวว่า ท่านผู้เจริญ
ผมไม่รู้เรื่องนี้ กลับเก็บงำสิ่งนั้นแล้วขอขมาว่า ท่านผู้เจริญ ขอท่านทั้งหลาย
จงอดโทษแก่กระผม แล้วจึงไป. ท่านราหุลนี้เป็นผู้ใคร่ต่อการศึกษาอย่างนี้.
ท่านราหุลนั้นอาศัยความเป็นผู้ใคร่ต่อการศึกษานั้นนั่นเอง จึงเข้าไปอยู่ในกุฎี
นั้น.
ครั้นเวลาก่อนอรุณทีเดียว พระศาสดาประทับยืนที่ประตูเวจกุฎีแล้ว
ทรงพระกาสะ (ไอ) ขึ้น ส่วนท่านผู้มีอายุนั้นก็ไอขึ้น พระศาสดาตรัสถามว่า
ใครนั่น ? ท่านพระราหุลกราบทูลว่า ข้าพระองค์ราหุล แล้วออกมาถวายบังคม
พระศาสดาตรัสถามว่า ราหุล เพราะเหตุไรเธอจึงนอนที่นี้ ? พระราหุลกราบ
ทูลว่า เพราะไม่มีที่อยู่ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ด้วยว่าเมื่อก่อน ภิกษุทั้งหลาย
กระทำอาทิผิด สระความสงเคราะห์แก่ข้าพระองค์ บัดนี้ไม่ให้ที่อยู่เพราะกลัวตนอาทิผิด อักขระต้องอาบัติ
ข้าพระองค์นั้นคิดว่า ที่เป็นที่ไม่เบียดเสียดผู้อื่น ด้วยเหตุนี้ จึงนอนในที่นี้.
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเกิดธรรมสังเวชขึ้นว่า เบื้องต้น ภิกษุทั้งหลาย
สละราหุลได้อย่างนี้ (ต่อไป) ให้เด็กในตระกูลทั้งหลายอื่นบวชแล้ว จักกระทำ
อย่างไร. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าให้ภิกษุทั้งหลายประชุมกัน แต่เช้าตรู่
แล้วตรัสถามพระธรรมเสนาบดีว่า สารีบุตร ก็เธอรู้ไหมว่า วันนี้ราหุลอยู่ที่
ไหน ? พระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ไม่ทราบ
พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า สารีบุตร วันนี้ราหุลอยู่ที่เวจกุฎี ดูก่อนสารี-
บุตร ท่านทั้งหลายเมื่อละราหุลได้อย่างนี้ (ต่อไปภายหน้า) ให้เด็กในตระกูล
ทั้งหลายเหล่าอื่นบวชแล้ว จักกระทำอย่างไร แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น กุลบุตรผู้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 38/268/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ผู้นี้มีอภิชฌามาก มีใจอันอภิชฌากลุ้มรุมอยู่เป็นส่วนมาก ก็ความกลุ้มรุม
แห่งอภิชฌานี้ เป็นความเสื่อมในธรรมวินัยอาทิผิด อักขระที่พระตถาคตประกาศแล้ว
ท่านผู้นี้เป็นผู้พยาบาท มีใจอันพยาบาทกลุ้มรุมอยู่เป็นส่วนมาก ก็ความ
กลุ้มรุมแห่งพยาบาทนี้ เป็นความเสื่อมในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศ
แล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้มีถีนมิทธะ มีใจอันถีนมิทธะกลุ้มรุมอยู่เป็นส่วนมาก
ก็ความกลุ้มรุมแห่งถีนมิทธะนี้ เป็นความเสื่อมในธรรมวินัยที่พระตถาคต
ประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้มีจิตฟุ้งซ่าน มีใจอันความฟุ้งซ่านกลุ้มรุม
อยู่เป็นส่วนมาก ก็ความกลุ้มรุมแห่งความฟุ้งซ่านนี้ เป็นความเสื่อมใน
ธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้มีความสงสัย มีใจอัน
ความสงสัยกลุ้มรุมอยู่เป็นส่วนมาก ก็ความกลุ้มรุมแห่งความสงสัยนี้ เป็น
ความเสื่อมในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้ชอบการ
งาน ยินดีในการงาน ประกอบเนือง ๆ ซึ่งความเป็นผู้ชอบการงาน
ก็ความเป็นผู้ชอบการงานนี้ เป็นความเสื่อมในธรรมวินัยที่พระตถาคต
ประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้ชอบในการคุย ผู้ยินดีในการคุย ประกอบ
เนือง ๆซึ่งความเป็นผู้ชอบคุย ก็ความเป็นผู้ชอบคุยนี้ เป็นความเสื่อม
ในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้ชอบการนอนหลับ
ยินดีในการนอนหลับ ประกอบเนือง ๆ ซึ่งความเป็นผู้ชอบนอนหลับ
ก็ความเป็นผู้ชอบนอนหลับนี้ เป็นความเสื่อมในธรรมวินัยที่พระตถาคต
ประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้ชอบความเป็นผู้คลุกคลีด้วยหมู่คณะ ยินดีใน
ความเป็นผู้คลุกคลีด้วยหมู่คณะ ประกอบเนือง ๆ ซึ่งความเป็นผู้ชอบ
คลุกลีด้วยหมู่คณะ ก็ความเป็นผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะนี้ เป็นความ
เสื่อมในธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว ท่านผู้นี้เป็นผู้มีสติหลงลืม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/323/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ส่วนเขาสำคัญว่า เราเรียนในสำนักอาจารย์ เพราะฉะนั้น พอท้าว
สักกะอาทิผิด สระปล่อยด้วยทรงดำริว่า บัดนี้ชีวกสามารถเพื่อเยียวยาได้ เขาจึงคิดอาทิผิด อักขระอย่างนั้น
แล้วถามอาจารย์.
ส่วนอาจารย์ทราบดีว่า ชีวกนี้ไม่ได้เรียนศิลปะด้วยอานุภาพของเรา
เรียนด้วยอานุภาพของเทวดา จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า เตนหิ ภเณ.
สามบทว่า สมนฺตา โยชนํ อาหิณฺฑนฺโต มีความว่า ออกทาง
ประตูด้านหนึ่ง ๆ วันละประตู เที่ยวไปตลอด ๔ วัน.
สามบทว่า ปริตฺตํ ปาเถยฺยํ อทาสิ มีความว่า ได้ให้เสบียงมีประ-
มาณน้อย.
เพราะเหตุไร ?
ได้ยินว่า แพทยาจารย์นั้น ได้มีความวิตกอย่างนี้ว่า ชีวกนี้เป็นบุตร
ของมหาสกุล พอไปถึงเท่านั้น จักได้สักการะใหญ่ จากสำนักบิดาและปู่
เหตุนั้น เขาจักไม่รู้คุณของเราหรือของศิลปะ แต่เขาสิ้นเสบียงในกลางทางแล้ว
จักต้องใช้ศิลปะอาทิผิด แล้วจักรู้คุณของเราและของศิลปะแน่แท้ เพราะเหตุนั้น จึง
ให้เสบียงแต่น้อย.
บทว่า ปสเทน คือ ฟายมือหนึ่ง.
บทว่า ปิจุนา คือ ปุยฝ้าย.
บทว่า ยตฺร หิ นาม คือชื่อใด ?
บทว่า กิมฺปิมายํ ตัดอาทิผิด อักขระบทเป็น กิมฺปิ เม อยํ.
สามบทว่า สพฺพาลงฺการํ ตุยฺหํ โหตุ มีความว่า ได้ยินว่าพระ
ราชาทรงดำริว่า หากว่า หมอชีวกจักถือเอาเครื่องประดับทั้งปวงนี้ไซร้ เรา
จักตั้งเขาในตำแหน่งพอประมาณ หากว่า เขาจักไม่รับเอาไซร้ เราจักตั้งเขา
ให้เป็นคนสนิทภายในวัง ดังนี้ จึงตรัสอย่างนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/247/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หรือสามี ต่างก็อำนวยพรอย่างนี้ว่า เราสบาย สมบูรณ์ พูนสุข เพราะ
แม่ผัวดี และสามีดี ฉันใด ขอให้ท่านพระอุทายี จงสบาย สมบูรณ์
พูนสุข ฉันนั้นเถิด.
[๔๒๕] ภิกษุทั้งหลายได้ยินสตรีบางพวกกล่าวแช่งชักอยู่บางพวก
อำนวยพรอยู่ บรรดาที่เป็นผู้มักน้อย สันโดษ มีความอาทิผิด อักขระละอาย มีความ
รังเกียจ ใคร่ต่อสิกขา ต่างก็เพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉนท่าน
พระอุทายี จึงได้ถึงความเป็นผู้ชักสื่อเล่า แล้วกราบทูลเนื้อความนั้นแด่
พระผู้มีพระภาคเจ้า.
ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมอาทิผิด อักขระสงฆ์ ในเพราะเหตุ
เป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระ-
อุทายีว่า ดูก่อนอุทายี ข่าวว่า เธอถึงความเป็นผู้ชักสื่อจริงหรือ
ท่านพระอุทายีทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษอาทิผิด สระ การ
กระทำของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ
ใช้ไม่ได้ ไม่ควรทำ ไฉนเธอจึงอาทิผิด ได้ถึงความเป็นผู้ชักสื่อเล่า
ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความ
เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความอาทิผิด อักขระเลื่อมใสยิ่งของ
ชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดยที่แท้การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อ
ความอาทิผิด อักขระไม่เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่าง
อื่นของชนบางพวกที่เลื่อมใสแล้ว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/253/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ฝ่ายพระเจ้าสุทโธทนมหาราช ทรงจัดการบริหาร เช่นแต่งตั้ง
แม่นมเป็นต้น สำหรับพระโพธิสัตว์ทรงเลี้ยงดู พระโพธิสัตว์ให้
เติบโต ฝ่ายพระโพธิสัตว์ทรงเจริญวัยแล้ว เสวยสมบัติเหมือน
เทพเจ้า เมื่อพระญาณแก่กล้าแล้ว ทรงเห็นโทษในกาม เห็นอานิสงส์
ในการออกจากกาม จึงในวันที่พระราหุลกุมารประสูติ มีนายฉันนะ
เป็นพระสหาย ทรงขึ้นม้ากัณฐกะเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ทาง
ประตูที่เทวดาเปิดให้ เสด็จเลยไป ๓ ราชอาณาเขต โดยตอนกลางคืน
นั้นนั่นเอง ทรงบรรพชาที่ฝั่งแม่น้ำอโนมานที พอทรงรับธงชัย
แห่งพระอรหันต์ ที่ท้าวฆฏิการมหาพรหมนำมาถวายเท่านั้น เป็น
เหมือนพระเถระ ๑๐๐ พรรษา เสด็จถึงกรุงราชคฤห์ ด้วยพระ
อิริยาบถอันน่าเลื่อมใส เสด็จเที่ยวบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์นั้น
เสวยบิณฑบาตที่ร่มเงาแห่งภูเขา ชื่อว่าปัณฑวะ ถูกพระเจ้ามคธ
ทรงเชื้อเชิญให้ครองราชสมบัติ ก็ทรงปฏิเสธ เสด็จถึงอุรุเวลา-
ประเทศ โดยลำดับ ทรงเกิดพระดำริมุ่งหน้าต่อความเพียรขึ้นว่า
ภูมิภาคนี้ น่ารื่นรมย์หนอ ที่นี้เหมาะจะทำความเพียรของกุลบุตรที่
ต้องการจะทำความเพียรหนอ ดังนี้แล้วจึงเสด็จประทับอยู่ ณ ที่นั้น.
สมัยนั้น พราหมณ์อีก ๗ คน ได้ไปตามกรรม. ส่วนโกณฑัญญ-
มาณพอาทิผิด อักขระ ผู้ตรวจพระลักษณะ หนุ่มกว่าเขาทั้งหมด เป็นผู้ปราศจาก
ป่วยไข้. ท่านทราบว่า พระมหาบุรุษทรงผนวชแล้ว จึงเข้าไปหา
พวกบุตรพราหมณ์เหล่านั้น กล่าวอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า พระสิทธัตถ
ราชกุมารทรงผนวชแล้ว ท่านจักเป็นพระพุทธเจ้า โดยไม่ต้องสงสัย
ถ้าบิดาของพวกท่านไม่ป่วยไข้สบายดี วันนี้ก็พึงออกบวช ถ้าแม้
พระปิฎกธรรม