星期日, 五月 12, 2019

Chiphai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 36/120/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ประทาน แม้กายก็พึงเศร้าหมอง ซูบผอม แม้การงานก็พึงหยุดชะงัก แม้
พวกอมิตรก็พึงดีใจ แม้พวกมิตรก็พึงเสียใจ ดังนี้ เมื่อสิ่งที่มีความฉิบหาย
เป็นธรรมดาฉิบหายอาทิผิด อักขระไปแล้ว อริยสาวกนั้นย่อมไม่เศร้าโศก ไม่ลำบาก ไม่ร่ำไร
ไม่ทุบอกคร่ำครวญ ไม่หลงงมงาย นี้เรียกว่า อริยสาวกผู้ได้สดับ ถอน
ลูกศร คือ ความเศร้าโศกที่มีพิษ ซึ่งเสียบแทงปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ทำตน
ให้เดือดร้อน อริยสาวกผู้ไม่มีความโศก ปราศจากลูกศร ย่อมดับทุกข์ร้อน
ได้ด้วยตนเอง ขอถวายพระพร ฐานะ ๕ ประการนี้แล อันสมณะ พราหมณ์
เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลกนี้ไม่พึงได้.
ท่านพระนารทะ ครั้นกล่าวไวยากรณอาทิผิด อักขระภาษิตนี้จบลงแล้ว จึงได้กล่าว
คาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า
ประโยชน์แม้เล็กน้อยในโลกนี้ อัน
ใคร ๆ ย่อมไม่ได้เพราะการเศร้าโศก
เพราะการคร่ำครวญ พวกอมิตรทราบว่า
เขาเศร้าโศก เป็นทุกข์ ย่อมดีใจ ก็คราวใด
บัณฑิตพิจารณารู้เนื้อความ ไม่หวั่นไหว
ในอันตรายทั้งหลาย คราวนั้น พวก
อมิตรเห็นหน้าอันไม่ผิดปกติของบัณฑิต
นั้น ยิ้มแย้มตามเคย ย่อมเป็นทุกข์ บัณฑิต
พึงได้ประโยชน์ในที่ใด ๆ ด้วยประการ
ใด ๆ เพราะการสรรเสริญ เพราะความรู้
เพราะกล่าวคำสุภาษิต เพราะการบำเพ็ญ-
ทาน หรือเพราะประเพณีของตน ก็พึง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: