星期一, 五月 06, 2019

Tat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/323/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ส่วนเขาสำคัญว่า เราเรียนในสำนักอาจารย์ เพราะฉะนั้น พอท้าว
สักกะอาทิผิด สระปล่อยด้วยทรงดำริว่า บัดนี้ชีวกสามารถเพื่อเยียวยาได้ เขาจึงคิดอาทิผิด อักขระอย่างนั้น
แล้วถามอาจารย์.
ส่วนอาจารย์ทราบดีว่า ชีวกนี้ไม่ได้เรียนศิลปะด้วยอานุภาพของเรา
เรียนด้วยอานุภาพของเทวดา จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า เตนหิ ภเณ.
สามบทว่า สมนฺตา โยชนํ อาหิณฺฑนฺโต มีความว่า ออกทาง
ประตูด้านหนึ่ง ๆ วันละประตู เที่ยวไปตลอด ๔ วัน.
สามบทว่า ปริตฺตํ ปาเถยฺยํ อทาสิ มีความว่า ได้ให้เสบียงมีประ-
มาณน้อย.
เพราะเหตุไร ?
ได้ยินว่า แพทยาจารย์นั้น ได้มีความวิตกอย่างนี้ว่า ชีวกนี้เป็นบุตร
ของมหาสกุล พอไปถึงเท่านั้น จักได้สักการะใหญ่ จากสำนักบิดาและปู่
เหตุนั้น เขาจักไม่รู้คุณของเราหรือของศิลปะ แต่เขาสิ้นเสบียงในกลางทางแล้ว
จักต้องใช้ศิลปะอาทิผิด แล้วจักรู้คุณของเราและของศิลปะแน่แท้ เพราะเหตุนั้น จึง
ให้เสบียงแต่น้อย.
บทว่า ปสเทน คือ ฟายมือหนึ่ง.
บทว่า ปิจุนา คือ ปุยฝ้าย.
บทว่า ยตฺร หิ นาม คือชื่อใด ?
บทว่า กิมฺปิมายํ ตัดอาทิผิด อักขระบทเป็น กิมฺปิ เม อยํ.
สามบทว่า สพฺพาลงฺการํ ตุยฺหํ โหตุ มีความว่า ได้ยินว่าพระ
ราชาทรงดำริว่า หากว่า หมอชีวกจักถือเอาเครื่องประดับทั้งปวงนี้ไซร้ เรา
จักตั้งเขาในตำแหน่งพอประมาณ หากว่า เขาจักไม่รับเอาไซร้ เราจักตั้งเขา
ให้เป็นคนสนิทภายในวัง ดังนี้ จึงตรัสอย่างนั้น.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: