turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/561/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้ยินว่า ท่านพระสัพพกามี ผู้ประสงค์จะกล่าวคำอันไพเราะจึงเรียก
ภิกษุใหม่ทั้งหลาย อย่างนั้น .
บทว่า กุลฺลกวิหาเรน ได้แก่ ธรรมเป็นที่อยู่อันตื้น.
[ว่าด้วยสิงคิโลณกัปปะ]
สองบทว่า สาวตฺถิยา สุตฺตวิภงฺเค มีความว่า เกลือเขนงนี้เป็น
ของอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงห้ามแล้วในสุตตวิภังค์ อย่างไร ? จริงอยู่ ใน
สุตตวิภังค์นั้น เกลือเขนงเป็นของอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ของภิกษุรับ
ประเคนแล้วในวันนี้ ควรเพื่อฉันในวันอื่นอีก ชื่อว่าเป็นของสันนิธิ ดังนี้แล้ว
ตรัสอาบัติห้ามอีกว่า ภิกษุมีความสำคัญในของเคี้ยวของฉันที่รับประเคนไว้
ค้างคืน ว่ามิได้รับประเคนไว้ค้างคืน เคี้ยวของเคี้ยวก็ดี ฉันของฉันก็ดี ต้อง
ปาจิตตีย์.
ในสุตตวิภังค์นั้น อาจารย์พวกหนึ่งเข้าใจว่า ก็ สิกขาบทนี้พระผู้มี
พระภาคเจ้าตรัสแล้วว่า โย ปน ภิกฺขุ สนฺนิธิการกํ ขาทนียํ วา โภชนียํ
วา เป็นอาทิ แต่ธรรมดาเกลือนี้ ไม่ถึงความเป็นสันนิธิ เพราะเป็นยาวชีวิก
ภิกษุรับประเคนอามิสที่ไม่เค็มแม้ใดด้วยเกลือนั้น แล้วฉันพร้อมกับเกลือนั้น
อามิสนั้น อันภิกษุรับประเคนในวันนั้นเท่านั้น เพราะเหตุนั้น อันอาบัติทุกกฏ
ในเพราะเกลือที่รับประเคนก่อนนี้ พึงมี เพราะพระบาลีว่า ภิกษุทั้งหลาย
วัตถุเป็นยาวชีวิกอาทิผิด สระ ภิกษุรับประเคนในวันนั้น พร้อมกับวัตถุเป็นยาวกาลิกควร
ในกาล ไม่ควรในวิกาล.*
* มหาวคฺค. ทุติยอาทิผิด สระ. ๑๓๒.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/630/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กิจจาธิกรณ์ มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ
มีอะไรเป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
ต. วิวาทาธิกรณ์ มีปัจจัยเป็นนิทาน มีปัจจัยเป็นสมุทัย มีปัจจัยเป็น
ชาติ มีปัจจัยเป็นแดนเกิดอาทิผิด ก่อน มีปัจจัยเป็นองค์ มีปัจจัยเป็นสมุฏฐาน
อนุวาทาธิกรณ์ มีปัจจัยเป็นนิทาน มีปัจจัยเป็นสมุทัย มีปัจจัยเป็น
ชาติ มีปัจจัยเป็นแดนเกิดก่อน มีปัจจัยเป็นองค์ มีปัจจัยเป็นสมุฏฐาน
อาปัตตาธิกรณ์ มีปัจจัยเป็นนิทาน มีปัจจัยเป็นสมุทัย มีปัจจัยเป็น
ชาติ มีปัจจัยเป็นแดนเกิดก่อน มีปัจจัยเป็นองค์ มีปัจจัยเป็นสมุฏฐาน
กิจจาธิกรณ์ มีปัจจัยเป็นนิทาน มีปัจจัยเป็นสมุทัย มีปัจจัยเป็นชาติ
มีปัจจัยเป็นแดนเกิดก่อน มีปัจจัยเป็นองค์ มีปัจจัยเป็นสมุฏฐาน.
ว่าด้วยมูลอธิกรณ์เป็นต้น
[๑,๐๔๙] ถามว่า อธิกรณ์ ๔ มีมูลเท่าไร มีสมุฏฐานเท่าไร
ตอบว่า อธิกรณ์ ๔ มีมูล ๓๓ มีสมุฏฐาน ๓๓
ถ. อธิกรณ์ ๔ มีมูล ๓๓ เป็นไฉน
ต. วิวาทาธิกรณ์ มีมูล ๑๒ อนุวาทาธิกรณ์ มีมูล ๑๔ อาปัตตา-
ธิกรณ์ มีมูล ๖ กิจจาธิกรณ์ มีมูล ๑ คือ สงฆ์
รวมอธิกรณ์ ๔ มีมูล ๓๓
ถ. อธิกรณ์ ๔ มีสมุฏฐาน ๓๓ เป็นไฉน
ต. วิวาทาธิกรณ์ มีเรื่องทำความแตกกัน ๑๘ เป็นสมุฏฐาน อนุ-
วาทาธิกรณ์ มีวิบัติ ๔ เป็นสมุฏฐาน อาปัตตาธิกรณ์ มีกองอาบัติ ๗ เป็น
สมุฏฐาน กิจจาธิกรณ์ มีกรรม ๔ เป็นสมุฏฐาน รวมอธิกรณ์ ๔ มีสมุฏฐาน ๓๓.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 88/339/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๑๔. อาสวทุกะ
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๓๒๙] ๑. อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ
ปัจจัย
คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ อาศัยกามาสวะ, กามาสวะ อวิชชาสวะ
อาศัยทิฏฐาสวะ, กามาสวะ ทิฏฐาสวะ อาศัยอวิชชาสวะ, อวิชชาสวะ อาศัย
ภวาสวะ, อวิชชาอาทิผิด สระสวะ อาศัยทิฏฐาสวะ.
พึงผูกจักรนัย แม้อย่างหนึ่ง ๆ.
๒. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยอาสวธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย
คือ อาสวสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
อาสวธรรม.
๓. อาสวธรรม และธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัย
อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ ทิฏฐาสวะ อวิชชาสวะ สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป
อาศัยกามาสวะ.
พึงผูกจักรนัย.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่อาสวธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่
อาสวธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/461/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งหลายมีราคะเป็นต้นเกิดขึ้นแล้ว เพราะทราบโดยวาระแห่งชวนจิต
ที่สองว่า กิเลสทั้งหลายเกิดขึ้นแล้วแก่เรา ชวนจิตสหรคตด้วยสังวรก็จะ
แล่นไปในวาระแห่งชวนจิตที่สาม ก็ข้ออาทิผิด อาณัติกะที่ภิกษุผู้เจริญวิปัสสนา พึงข่มกิเลส
ทั้งหลายได้ในวาระแห่งชวนจิตที่สามไม่ใช่เรื่อง น่าอัศจรรย์เลย.
อนึ่งในจักษุทวาร เมื่ออิฏฐารมณ์ ( อารมณ์ที่น่าปรารถนา ) มา
สู่ครอง ภวังคจิตก็จะระลึก ครั้นเมื่ออาวัชชนจิตเป็นต้นเกิดขึ้น ก็จะห้าม
วาระแห่งชวนจิตที่มีกิเลสคละเคล้าเสีย ต่อจากโวฏฐัพพนจิตแล้วให้วาระ
แห่งชวนจิตที่เป็นกุศลเกิดขึ้นแทนทันที. ก็นี้เป็นอานิสงส์ของการที่ภิกษุ
ผู้เจริญวิปัสสนา ดำรงมั่นอยู่ในการพิจารณาภาวนา.
บทว่า อภิหฏฺฐุํ ปวาเรยฺยุํ ความว่า ( พระราชาหรือราชอำมาตย์
ก็ดี มิตรหรืออำมาตย์ ญาติหรือสาโลหิตก็ดี ) พึงนำรตนะ ๗ ประการมา
มอบให้ตามกาล เหมือนที่นำมามอบ ให้แก่พระสุทินเถระ และพระรัฐบาล
กุลบุตร หรือกล่าวปวารณา ด้วยวาจาว่า ท่านปรารถนาทรัพย์ของเรา
จำนวนเท่าใด จงอาทิผิด สระเอาไปเท่านั้น.๑
บทว่า อนุทหนฺติ ความว่า ผ้ากาสาวะทั้งหลาย ชื่อว่าเผาไหม้ให้
เกิดความเร่าร้อน เพราะปกคลุมร่างกาย. อีกอย่างหนึ่ง หมายความว่า
คล้องติดแนบสนิทอยู่ที่ร่างกายซึ่งเกิดเหงื่อไคลไหลย้อย.
๑. ปาฐะว่า ... กาเล สตฺตรตนานิ อภิหริตฺวา ตฺยา วา... แต่ฉบับพม่าเป็น
กาเยน วา สตฺตรตนานิ อภิหริตฺวา วาจาย วา... แปลตามฉบับพม่า.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/528/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า มตฺตโส นิชฺฌานํ ขมนฺติ ความว่า ควรซึ่งการตรวจตราดู
โดยประมาณ.
บทที่เหลือในที่ทุกแห่ง มีความหมายง่ายทั้งนั้นแล.
จบ อรรถกถาโอกกันตสังยุต
รวมพระสูตรที่มีในสังยุตนี้คือ
๑. จักขุสูตร ๒. รูปสูตร ๓. วิญญาณอาทิผิด อักขระสูตร ๔. ผัสสสูตร
๕. เวทนาสูตร ๖. สัญญาสูตร ๗. เจตนาสูตร ๘. ตัณหาสูตร ๙. ธาตุสูตร
๑๐. ขันธสูตร.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/49/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วิปัสสีแล้ว พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี ได้
ทรงยังภิกษุทั้งหลายอาทิผิด เหล่านั้นให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้รื่นเริง ด้วย
ธรรมีกถาแล้ว ทรงประกาศโทษของสังขารที่ต่ำช้าเศร้าหมอง และอานิสงส์ใน
พระนิพพาน จิตของภิกษุเหล่านั้น ผู้อันพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธ-
เจ้าพระนามว่า วิปัสสี ทรงให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้รื่นเริง
ด้วยธรรมีกถา ไม่นานนัก ก็หลุดพ้นจากอาสวะ เพราะไม่ยึดอาทิผิด สระมั่น.
[๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรพชิต ๘๔,๐๐๐ รูปเหล่านั้น ได้สดับ
ข่าวว่า พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี เสด็จถึง
พระนครพันธุมดีราชธานีโดยลำดับ ประทับอยู่ ณ มฤคทายวันชื่อว่า เขมะ
และมีข่าวว่า กำลังทรงแสดงธรรมอยู่ ภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้นแล บรรพชิต
๘๔,๐๐๐ รูปเหล่านั้น ได้พากันไปทางพระนครพันธุมดีราชธานีทางมฤคทาย-
วันชื่อว่า เขมะ ที่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี
ประทับอยู่ ครั้นถึงแล้ว ได้ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธ-
เจ้าพระนามว่า วิปัสสี แล้วพากันนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาค-
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสี ได้ตรัสอนุปุพพิกถาแก่บรรพชิต
เหล่านั้น คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษของกามที่ต่ำช้าเศร้า
หมอง และอานิสงส์อาทิผิด อักขระในการออกบวช เมื่อทรงทราบว่า บรรพชิตเหล่านั้นมีจิต
คล่อง มีจิตอ่อน มีจิตปราศจากนิวรณ์ มีจิตสูง มีจิตผ่องใส จึงได้ทรงประกาศ
พระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงด้วยพระองค์เอง คือ
ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ดวงตาเห็นธรรมที่ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน ได้
เกิดขึ้นอาทิผิด แล้วแก่บรรพชิต ๘๔,๐๐๐ รูปนั้นว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็น
ธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลมีความดับไปเป็นธรรมดา ณ ที่นั่งนั้นแล เหมือนผ้าที่
สะอาดปราศจากมลทินควรรับน้ำย้อมด้วยดี ฉะนั้น บรรพชิตเหล่านั้นเห็นธรรม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 34/435/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปาริสัชชา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อภิภูภิกษุรับพระพุทธดำรัสของพระผู้มีพระ
ภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าสิขีแล้ว แสดงธรรมีกถาแก่พรหม
พรหมบริษัท และพรหมชั้นปาริสัชชาแล้ว เมื่อพระเถระแสดงธรรมอยู่
พรหมทั้งหลาย ยกโทษว่า นาน ๆ พวกเราจักได้เห็นพระบรมศาสดาเสด็จมา
ยังพรหมโลก แต่ภิกษุนี้กีดกันพระศาสดา เตรียมจะแสดงธรรมกถาเสียเอง.
พระศาสดาทรงทราบว่า พวกพรหมเหล่านั้นไม่พอใจ จึงได้ตรัส
กะอภิภูภิกษุดังนี้ว่า ดูก่อนพราหมณ์ พรหม พรหมบริษัท และพรหมชั้น
ปาริสัชชาพากันโทษเธอ ถ้าอย่างนั้น เธอจงทำให้พรหมเหล่านั้นสลดใจ เกิน
ประมาณเถิด พราหมณ์. พระเถระรับพระพุทธดำรัสแล้ว ทำการแผลงฤทธิ์
หลายอย่างหลายประการ เมื่อจะยังโลกธาตุพันหนึ่งให้ทราบชัดด้วยเสียง จึง
ได้กล่าว ๒ คาถาว่า อารมฺภถ นิกฺขมถ แปลว่า จงเริ่มเถิด จงเพียร
พยายามเถิด ท่านทั้งหลายดังนี้เป็นต้น.
ถามว่า ก็พระเถระทำอย่างไร จึงให้โลกธาตุตั้งพันหนึ่งทราบชัดได้.
ตอบว่า พระเถระเจ้าเข้านีลกสิณก่อนแล้ว แผ่ความมืดมนอันธการ
ไปทั่วทิศทั้งปวง แต่นั้น เมื่อสัตว์ทั้งหลายเกิดความคำนึงขึ้นว่า นี้เป็นความมืด
มนอันธการอะไร จึงแสดงแสงสว่าง. เมื่อพวกเขาคิดว่า นี้แสงสว่างอะไร จึง
แสดงตนให้เห็น เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายในพันจักรวาลจึงได้พากันยืนประคอง
อัญชลี นมัสการพระเถระอยู่ทีเดียว. พระเถระอธิษฐานว่า ขอมหาชน จงได้ยิน
เสียงของเราผู้แสดงธรรมอยู่ดังนี้แล้ว ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ไว้ เทวดาและมนุษย์
ทั้งหลายทั้งปวงได้ยินเสียงของพระเถระ เสมือนนั่งแสดงธรรมอยู่ในท่ามกลาง
บริษัทที่พรั่งพร้อมแล้ว แม้ข้อความ (ที่แสดง) ก็ปรากฏอาทิผิด ชัดแก่เทวดาและมนุษย์
เหล่านั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 52/162/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า ตาหิ จ สุขิโต วิหริสฺสํ ความว่า เราจักเป็นผู้มีความสุข
คือ เกิดสุขอยู่ คือสำเร็จอิริยาบถแม้ทั้ง ๔ อยู่ด้วยอัปปมัญญาเหล่านั้น.
ด้วยเหตุนั้น เราจึงมีความสุขอย่างเดียวในทุกเวลา ความทุกข์ไม่มี.
เพราะเราจักไม่ลำบากด้วยความหนาว คือเราจักไม่ลำบากด้วย
ความหนาว ในฤดูหิมะตก แม้อันมีถัดจากเดือนที่ ๘ เพราะฉะนั้น เรา
จักไม่หวั่นไหวอยู่ คือจักเป็นผู้มีอาทิผิด ความสุขอยู่ด้วยความสุขอันเกิดจากสมาบัติ
นั่นแหละ เพราะละได้เด็ดขาดซึ่งความพยาบาทเป็นต้น อันเป็นเหตุทำ
จิตให้หวั่นไหว และเพราะไม่มีความหวั่นไหวอันเกิดจากปัจจัย. พระเถระ
เมื่อกล่าวคาถานี้อย่างนี้ ได้เจริญวิปัสสนาทำให้แจ้งพระอรหัต. ด้วยเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวไว้ในอปทาน๑.ว่า
เราเป็นหมอผู้ศึกษาดีแล้ว อยู่ในนครพันธุมดี เป็น
ผู้นำความสุขมาให้แก่มหาชนผู้มีทุกข์เดือดร้อน ในกาล
นั้น เราเห็นพระสมณะผู้มีศีล ผู้รุ่งเรืองใหญ่ป่วยไข้ มี
จิตเลื่อมใสมีใจโสมนัส ได้ถวายยาบำบัดไข้ พระสมณะ
ผู้สำรวมอินทรีย์ เป็นอุปัฏฐากของพระวิปัสสีสัมมาสัม-
พุทธเจ้า นามว่าพระอโสกะ หายจากโรคด้วยยานั้นแล
ในกัปที่ ๙๐ แต่ภัทรกัปอาทิผิด อักขระนี้ ด้วยการที่เราได้ถวายยา เรา
ไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายยา และในกัปที่ ๘
แต่ภัทรกัปนี้ เราได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ พระนามว่า
สัพโพสธะ มีผลมาก สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ. เรา
๑. ขุ. อ. ๓๒/ข้อ ๑๘๑.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 30/421/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า ที่ต่อกำแพง ได้แก่ ที่ที่อิฐสองก้อนเชื่อมติดกัน. บทว่า
ช่องกำแพง ได้แก่ ที่ทำเป็นช่องกำแพง.
บทว่า เครื่องเศร้าหมองแห่งใจ ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ทำจิตให้
เศร้าหมอง คือทำความเศร้าหมอง ได้แก่ให้เข้าไปเร่าร้อน เบียดเบียนอยู่
เพราะฉะนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า เครื่องเศร้าหมองแห่งใจ. บทว่า ทอน-
กำลังปัญญา ความว่า นิวรณ์ทั้งหลาย เมื่อเกิดขึ้น ย่อมไม่ให้ปัญญาที่ยัง
ไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น พระเถระจึงเรียกว่า บั่นทอนกำลังปัญญา.
บทว่า ผู้มีจิตตั้งมั่นดีแล้ว ความว่า เป็นผู้มีจิตตั้งมั่นแล้วใน
สติปัฏฐาน ๔.
บทว่า ในโพชฌงค์ ๗ ตามความเป็นจริง ได้แก่ เจริญแล้ว
ตามภาวะของตน.
ด้วยบทว่า อนุตตรสัมมาสัมโพธิ พระเถระแสดงว่า แทงตลอด
ความเป็นพระอรหันต์ และสัพพัญญุตญาณ.
ก็อีกอย่างหนึ่ง คำว่า สติปัฏฐาน นี้คือ วิปัสสนาโพชฌงค์
มรรคก็คือพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ และอาทิผิด อักขระความเป็นพระอรหันต์ อีก
อย่างหนึ่ง คำว่า สติปัฏฐาน ก็คือวิปัสสนาเจือด้วยโพชฌงค์ ได้แก่ความ
เป็นพระอรหันต์ คือ สัมมาสัมโพธิญาณมั่นคง. ส่วนพระทีฆภาณกมหา-
สิวเถระ กล่าวแล้วว่า เมื่อถือเอาวิปัสสนาในสติปัฏฐานแล้ว ถือเอาโพชฌงค์
ว่า เป็นมรรคและเป็นสัพพัญญุตญาณ ก็จะพึงเป็นปัญหาที่สวย แต่ว่า อย่าไป
ถือเอาอย่างนั้น. พระเถระเมื่อจะแสดงความไม่มีความแตกต่างกัน เหมือน
ทองและเงินแตกแล้วในท่ามกลาง ในการละนิวรณ์ ในการเจริญสติปัฏฐาน
และในการอาทิผิด ตรัสรู้เอง ของพระสัพพัญญูพุทธเจ้าทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้
หยุดแค่นี้ก่อน ควรเปรียบเทียบข้ออุปมา ก็ท่านพระสารีบุตรแสดงถึงเมือง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/327/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทำลายข้าว มีเมล็ดเหมือนข้าวลีบ มีเมล็ดเหมือนข้าวตายรวง ครั้น
ทราบอย่างนี้แล้ว เขาจึงถอนมันพร้อมทั้งอาทิผิด ราก เอาไปทิ้งให้พ้นที่นา
ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคิดว่า หญ้าชนิดนี้อย่าทำลายข้าวที่ดี
อื่น ๆ เลย ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคล
บางคนในธรรมวินัยนี้ มีการก้าวไป การถอยอาทิผิด อักขระกลับ ฯลฯ เพราะ
คิดว่า ภิกษุนี้อย่าประทุษร้ายภิกษุที่ดีเหล่าอื่นเลย ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย เปรียบเหมือนกองข้าวเปลือกกองใหญ่ที่เขากำลังสาดอยู่
ในข้าวเปลือกกองนั้น ข้าวเปลือกที่เป็นตัว แกร่ง เป็นกองอยู่ส่วน
หนึ่ง ส่วนที่หัก ลีบ ลมย่อมพัดไปไว้ส่วนหนึ่ง เจ้าของย่อมเอา
ไม้กวาดวีข้าวที่หักและลีบออกไป ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะ
คิดว่า มันอย่าปนข้าวเปลือกที่ดีอื่น ๆ ฉันใด ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย
ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคลบางคนในธรรมวินัยนี้ มีการก้าวไป การ
ถอยกลับ ฯลฯ เพราะคิดว่าภิกษุนี้อย่าประทุษร้ายภิกษุที่ดีเหล่าอื่น
เลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนบุคคลต้องการกระบอก
ตักน้ำ ถือขวานอันคมเข้าไปในป่า เขาเอาสันขวานเคาะต้นไม้นั้น ๆ
บรรดาต้นเหล่านั้น ต้นไม้ที่แข็ง มีแก่น ซึ่งถูกเคาะด้วยสันขวาน
ย่อมมีเสียงหนัก ส่วนต้นไม้ที่ผุใน น้ำชุ่ม เกิดยุ่ยขึ้น ถูกเคาะด้วย
สันขวาน ย่อมมีเสียก้อง เขาจึงตัดต้นไม้ที่ผุในนั้นที่โคน ครั้นตัด
โคนแล้ว จึงตัดปลาย ครั้นตัดปลายแล้ว จึงคว้านข้างในให้เรียบร้อย
แล้วทำเป็นกระบอกตักน้ำ ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือน
กัน และบุคคลบางคนในธรรมวินัยนี้ มีการก้าวไป การถอยกลับ
การแล การเหลียว การคู้ การเหยียด การทรงผ้าสังฆาฏิ บาตร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 38/501/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ว่าด้วยผู้ประกอบด้วยธรรม ๓๐ ประการเป็นพาลหรือเป็นบัณฑิต
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓๐ ประการ พึง
ทราบว่าเป็นคนพาล ธรรม ๓๐ ประการเป็นไฉน คือเป็นผู้ฆ่าสัตว์
ด้วยตนเองอาทิผิด ฯลฯ พอใจในความเห็นผิด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบ
ด้วยธรรม ๓๐ ประการนี้แล พึงทราบว่าเป็นคนพาล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓๐ ประการ พึง
ทราบว่าเป็นบัณฑิต ธรรม ๓๐ ประการเป็นไฉน คือเป็นผู้เว้นขาดจาก
การฆ่าสัตว์ด้วยตนเอง ฯลฯ พอใจในความเห็นชอบอาทิผิด อักขระ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๓๐ ประการนี้แล พึงทราบว่าเป็นบัณฑิต.
ว่าด้วยผู้ประกอบด้วยธรรม ๔๐ ประการเป็นพาลหรือเป็นบัณฑิต
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔๐ ประการ
พึงทราบว่าเป็นคนพาล ธรรม ๔๐ ประการเป็นไฉน คือเป็นผู้ฆ่าสัตว์
ด้วยตนเอง ฯลฯ กล่าวสรรเสริญความเห็นผิด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔๐ ประการนี้แล พึงทราบว่าเป็นคนพาล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔๐ ประการ พึง
ทราบว่าเป็นบัณฑิต ธรรม ๔๐ ประการเป็นไฉน คือเป็นผู้เว้นขาดจาก
การฆ่าสัตว์ด้วยตนเอง ฯลฯ กล่าวสรรเสริญความเห็นชอบ ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔๐ ประการนี้แล พึงทราบว่าเป็น
บัณฑิต.
จบตติยวรรคที่ ๓
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 48/579/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สุนิกขิตตวรรคที่ ๗
อรรถกถาจิตตลดาวิมาน
จิตตลดาวิมาน มีคาถาว่า ยถา วนํ จิตฺตลตํ ปภาสติ เป็นต้น.
จิตตลดาวิมานนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ วิหารเชตวัน กรุงสาวัตถี สมัย
นั้น ในกรุงสาวัตถีมีอุบาสกคนหนึ่ง เป็นคนยากจน มีโภคะน้อย รับ
จ้างทำงานของผู้อื่นเลี้ยงชีพ เขาเป็นคนมีศรัทธาปสาทะ เลี้ยงดูมารดาบิดา
ซึ่งแก่เฒ่า เขาคิดว่า ขึ้นชื่อว่าผู้หญิงมีสามีมักแสดงตัวเป็นใหญ่ ที่
ประพฤติให้ถูกใจแม่ผัวพ่อผัว หายาก หลีกเลี่ยงความร้อนใจของบิดา
มารดาจึงไม่แต่งงานอาทิผิด อักขระ เลี้ยงดูท่านเสียเอง รักษาศีลถืออุโบสถ ให้ทานตาม
กำลังทรัพย์ ต่อมาเขาทำกาลกิริยาตายไปบังเกิดในวิมาน ๑๒ โยชน์
ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ท่านพระมหาโมคคัลลานะไปสวรรค์ตามนัยที่กล่าว
แล้วในหนหลัง ได้สอบถามเทพบุตรนั้นถึงกรรมที่ทำไว้ ด้วยคาถา
เหล่านี้ว่า
สวนจิตรลดาเป็นสวนประเสริฐที่สุด สูงสุด
ของทวยเทพชั้นไตรทศ ย่อมสว่างไสวฉันใด วิมาน
ของท่านนี้ก็อุปมาฉันนั้น สว่างไสวอยู่ในอากาศ ท่าน
ได้เทพฤทธิ์มีอานุภาพมาก ครั้งเกิดเป็นมนุษย์ ท่าน
ได้ทำบุญอะไรไว้ เพราะบุญอะไร ท่านจึงมีอานุภาพ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 47/473/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๓๖๕] ข้าพระองค์ผู้มีความสงสัย
มีความเคลือบแคลง มาหวังจะทูลถามปัญหา
พระองค์อันข้าพระองค์ทูลถามปัญหาแล้ว
ขอจงตรัสพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ตามลำดับ
ปัญหาให้สมควรแก่ธรรมเถิด.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
ดูก่อนสภิยะ ท่านมาแต่ไกล หวังจะ
ถามปัญหา เราอันท่านถามปัญหาแล้ว จะ
กระทำที่สุดแห่งปัญหาเหล่านั้น จะพยากรณ์
แก่ท่านตามลำดับปัญหา ให้สมควรแก่ธรรม
ดูก่อนสภิยะ ท่านปรารถนาปัญหาข้อใด
ข้อหนึ่งในใจ ก็เชิญถามเราเถิด เราจะกระ-อาทิผิด
ทำที่สุดเฉพาะปัญหานั้น ๆ แก่ท่าน.
[๓๖๖] ลำดับนั้น สภิยปริพาชกดำริว่า น่าอัศจรรย์จริงหนอ ไม่
เคยมีมาเลยหนอ เราไม่ได้แม้เพียงการให้โอกาสในสมณพราหมณ์เหล่าอื่นเลย
พระสมณโคดมได้ทรงให้โอกาสนี้แก่เราแล้ว สภิยปริพาชกมีใจชื่นชม เบิกบาน
เฟื่องฟูเกิดปีติโสมนัส ได้กราบทูลถามปัญหากะพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
บัณฑิตกล่าวบุคคลผู้บรรลุอะไรว่า
เป็นภิกษุ กล่าวบุคคลว่าผู้สงบเสงี่ยมด้วย
อาการอย่างไร กล่าวบุคคลว่าผู้ฝึกตนแล้ว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 45/440/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระพุทธเจ้าจงเป็นที่ระลึกเป็นที่ต้านทาน เป็นที่หลีกเร้น (ทุกข์ภัย) ของ
ข้าพเจ้า พึงเห็นการเข้าถึงความเป็นศิษย์ เหมือนการเข้าถึงสรณะ ของพระ-
มหากัสสปเถระอย่างนี้ว่า เราพบพระศาสดา ก็เป็นอันพบพระผู้มีพระภาคเจ้า
ด้วย เราพบพระสุคตก็เป็นอันพบพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วย เราพบพระสัมมา-
สัมพุทธเจ้าก็เป็นอันพบพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วย.
พึงทราบความเป็นผู้มีพระรัตนตรัยนั้นเป็นที่ไปในเบื้องหน้าเหมือน
การถึงสรณะของอาฬวกยักษ์เป็นต้น อย่างนี้ว่า
ข้าพเจ้านั้นจักออกจากบ้าน ไปสู่
บ้าน ออกจากเมือง ไปสู่เมือง เที่ยว
นมัสการพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และความ
ที่พระธรรมอาทิผิด เป็นธรรมดี.
การนบนอบพึงทราบอย่างนี้ว่า ครั้งนั้นแล พรหมายุพราหมณ์ลุกจาก
อาสนะแล้ว ห่มผ้าเฉวียงบ่า ซบเศียรแทบพระบาทพระผู้มีพระภาคเจ้า จุมพิต
พระบาทของพระองค์ด้วยปาก ใช้มือนวดพระบาท และประกาศนาม (ของตน)
ว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์ชื่อพรหมายุพราหมณ์ ข้าแต่พระ-
โคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์ชื่อพรหมายุพราหมณ์ ก็การนบนอบนี้นั้นมี ๔ อย่าง
ด้วยสามารถแห่งการเป็นญาติ ๑ กลัว ๑ เป็นอาจารย์ ๑ เป็นทักขิไณยบุคคล ๑
ใน ๔ อย่างนั้น การถึงสรณะ มีด้วยการนบนอบพระทักขิเณยยบุคคล มิใช่
ด้วยเหตุอื่น. เพราะว่าคนจะถึงสรณะด้วยอำนาจแห่งคุณที่ล้ำเลิศ (ของพระ-
รัตนตรัย) นั่นเอง จะขาดก็ด้วยสามารถแห่งการยึดสิ่งอื่นว่า ประเสริฐ (กว่า)
เพราะฉะนั้น ผู้ใดไหว้ด้วยคิดว่า ท่านผู้นี้เท่านั้น เป็นผู้สูงสุดกว่าสรรพสัตว์
เป็นทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศในโลก สรณะเป็นอันผู้นั้นถือเอาแล้ว ส่วนผู้ไหว้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 50/526/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งปวง คือ กระทำให้ออกไปนอกสันดานด้วยน้ำสำหรับสำรอก กล่าวคือพระ-
อริยมรรค หรือเพราะเหตุ คือ การกระทำให้มีในภายนอก.
บทว่า ปตฺโต เม อาสวกฺขโย ความว่า ชื่อว่า อาสวักขัย
เพราะเป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น หรือเพราะพึงบรรลุ
ด้วยการสิ้นไปแห่งอาสวะเหล่านั้น ได้แก่ พระนิพพาน และพระอรหัตผล.
พระเถระนั้น พยากรณ์พระอรหัตผลด้วยสามารถแห่งอุทานว่า เราบรรลุ คือ
ถึงความสิ้นอาสวะแล้ว ดังนี้.
จบอรรถกถาปาราปริยเถรคาถาอาทิผิด
๗. ยสเถรคาถา
ว่าด้วยคาถาของพระยสเถระ
[๒๕๔] ได้ยินว่า พระยสเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า
เราเป็นผู้ลูบไล้ดีแล้ว มีเครื่องนุ่งห่มอันงดงาม
ประดับด้วยสรรพาภรณ์ ได้บรรลุวิชชา ๓ บำเพ็ญกิจ
พระพุทธศาสนาเสร็จแล้ว ดังนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/682/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อม
ใสแล้ว . . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้
ว่าดังนี้ :-
พระบัญญัติ
๑๑๐. ๑. อนึ่ง ภิกษุใด แกล้งพรากสัตว์จากชีวิต เป็น
ปาจิตตีย์.
เรื่องพระอุทายีจบ
สิกขาบทวิภังค์
[๖๓๒] บทว่า อนึ่ง. . .ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด...
บทอาทิผิด สระว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้ขอ...
นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้ .
บทว่า แกล้ง คือ รู้อยู่ รู้ดีอยู่ ตั้งใจ พยายาม ละเมิด.
ที่อาทิผิด อาณัติกะชื่อว่า สัตว์ ตรัสหมายสัตว์ดิรัจฉาน.
บทว่า พราก. . .จากชีวิต ความว่า ตัดทอน บั่นทอน ซึ่งอินทรีย์
มีชีวิต ทำความสืบต่อให้กำเริบ ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
บทภาชนีย์
[๖๓๓] สัตว์มีชีวิต ภิกษุสำคัญว่าสัตว์มีชีวิต พรากจากชีวิต ต้อง
อาบัติปาจิตตีย์.
สัตว์มีชีวิต ภิกษุสงสัย พรากจากชีวิต ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระปิฎกธรรม