Phatthara Kap
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 52/162/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า ตาหิ จ สุขิโต วิหริสฺสํ ความว่า เราจักเป็นผู้มีความสุข
คือ เกิดสุขอยู่ คือสำเร็จอิริยาบถแม้ทั้ง ๔ อยู่ด้วยอัปปมัญญาเหล่านั้น.
ด้วยเหตุนั้น เราจึงมีความสุขอย่างเดียวในทุกเวลา ความทุกข์ไม่มี.
เพราะเราจักไม่ลำบากด้วยความหนาว คือเราจักไม่ลำบากด้วย
ความหนาว ในฤดูหิมะตก แม้อันมีถัดจากเดือนที่ ๘ เพราะฉะนั้น เรา
จักไม่หวั่นไหวอยู่ คือจักเป็นผู้มีอาทิผิด ความสุขอยู่ด้วยความสุขอันเกิดจากสมาบัติ
นั่นแหละ เพราะละได้เด็ดขาดซึ่งความพยาบาทเป็นต้น อันเป็นเหตุทำ
จิตให้หวั่นไหว และเพราะไม่มีความหวั่นไหวอันเกิดจากปัจจัย. พระเถระ
เมื่อกล่าวคาถานี้อย่างนี้ ได้เจริญวิปัสสนาทำให้แจ้งพระอรหัต. ด้วยเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวไว้ในอปทาน๑.ว่า
เราเป็นหมอผู้ศึกษาดีแล้ว อยู่ในนครพันธุมดี เป็น
ผู้นำความสุขมาให้แก่มหาชนผู้มีทุกข์เดือดร้อน ในกาล
นั้น เราเห็นพระสมณะผู้มีศีล ผู้รุ่งเรืองใหญ่ป่วยไข้ มี
จิตเลื่อมใสมีใจโสมนัส ได้ถวายยาบำบัดไข้ พระสมณะ
ผู้สำรวมอินทรีย์ เป็นอุปัฏฐากของพระวิปัสสีสัมมาสัม-
พุทธเจ้า นามว่าพระอโสกะ หายจากโรคด้วยยานั้นแล
ในกัปที่ ๙๐ แต่ภัทรกัปอาทิผิด อักขระนี้ ด้วยการที่เราได้ถวายยา เรา
ไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายยา และในกัปที่ ๘
แต่ภัทรกัปนี้ เราได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ พระนามว่า
สัพโพสธะ มีผลมาก สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ. เรา
๑. ขุ. อ. ๓๒/ข้อ ๑๘๑.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论