星期五, 四月 17, 2020

Nai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/421/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ที่ต่อกำแพง ได้แก่ ที่ที่อิฐสองก้อนเชื่อมติดกัน. บทว่า
ช่องกำแพง ได้แก่ ที่ทำเป็นช่องกำแพง.
บทว่า เครื่องเศร้าหมองแห่งใจ ได้แก่ นิวรณ์ ๕ ทำจิตให้
เศร้าหมอง คือทำความเศร้าหมอง ได้แก่ให้เข้าไปเร่าร้อน เบียดเบียนอยู่
เพราะฉะนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า เครื่องเศร้าหมองแห่งใจ. บทว่า ทอน-
กำลังปัญญา ความว่า นิวรณ์ทั้งหลาย เมื่อเกิดขึ้น ย่อมไม่ให้ปัญญาที่ยัง
ไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น พระเถระจึงเรียกว่า บั่นทอนกำลังปัญญา.
บทว่า ผู้มีจิตตั้งมั่นดีแล้ว ความว่า เป็นผู้มีจิตตั้งมั่นแล้วใน
สติปัฏฐาน ๔.
บทว่า ในโพชฌงค์ ๗ ตามความเป็นจริง ได้แก่ เจริญแล้ว
ตามภาวะของตน.
ด้วยบทว่า อนุตตรสัมมาสัมโพธิ พระเถระแสดงว่า แทงตลอด
ความเป็นพระอรหันต์ และสัพพัญญุตญาณ.
ก็อีกอย่างหนึ่ง คำว่า สติปัฏฐาน นี้คือ วิปัสสนาโพชฌงค์
มรรคก็คือพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ และอาทิผิด อักขระความเป็นพระอรหันต์ อีก
อย่างหนึ่ง คำว่า สติปัฏฐาน ก็คือวิปัสสนาเจือด้วยโพชฌงค์ ได้แก่ความ
เป็นพระอรหันต์ คือ สัมมาสัมโพธิญาณมั่นคง. ส่วนพระทีฆภาณกมหา-
สิวเถระ กล่าวแล้วว่า เมื่อถือเอาวิปัสสนาในสติปัฏฐานแล้ว ถือเอาโพชฌงค์
ว่า เป็นมรรคและเป็นสัพพัญญุตญาณ ก็จะพึงเป็นปัญหาที่สวย แต่ว่า อย่าไป
ถือเอาอย่างนั้น. พระเถระเมื่อจะแสดงความไม่มีความแตกต่างกัน เหมือน
ทองและเงินแตกแล้วในท่ามกลาง ในการละนิวรณ์ ในการเจริญสติปัฏฐาน
และในการอาทิผิด ตรัสรู้เอง ของพระสัพพัญญูพุทธเจ้าทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้
หยุดแค่นี้ก่อน ควรเปรียบเทียบข้ออุปมา ก็ท่านพระสารีบุตรแสดงถึงเมือง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: