星期二, 五月 12, 2020

Khandhehi

turned_in  เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/416/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ชาโต นาภิชานามิ - ดูก่อนน้องหญิงตั้งแต่เราเกิดในอริยชาติแล้วจะได้
รู้สึกว่าแกล้งปลงสัตว์จากชีวิตหามิได้. มีอรรถว่า บัญญัติ ในบทมีอาทิ
ว่า ติริยา นาม ติณชาติ นาภิย อุคฺคนฺตฺวา นภํ อาหจฺจ ฐิตา
อโหสิหญ้าคาผุดขึ้นจากนาภีพุ่งขึ้นไปจดท้องฟ้า. มีอรรถว่า สังขต-
ลักษณะ ในบทนี้ว่า ชาติ ทฺวีหิ ขนฺเธหิอาทิผิด อักขระ สงฺคหิตา - ชาติ
ท่านสงเคราะห์ด้วยขันธ์ ๒. มีอรรถว่า ปสูติ ในบทนี้ว่า สมฺปติ-
ชาโต อานนฺท โพธิสตฺโต- ดูก่อนอานนท์ โพธิสัตว์เกิดทันทีทันใด.
มีอรรถว่า ปฏิสนธิ โดยปริยายในบทนี้ว่า ภวปจฺจยา ชาติ เพราะ
ภพเป็นปัจจัยจึงมีชาติ. และบทว่า ชาติปิ ทุกฺขา- แม้ชาติก็เป็นทุกข์.
แต่โดยนิปริยาย - โดยตรง ได้แก่ ความปรากฏครั้งแรกของขันธ์
ทั้งหลายที่ปรากฏแก่สัตว์ผู้เกิดในภพนั้น ๆ.
หากถามว่า เพราะเหตุไร ชาตินี้จึงเป็นทุกข์ ตอบว่า เพราะ
ชาติเป็นที่ตั้งของทุกข์ไม่น้อย. ทุกข์ไม่น้อย คือ ทุกขทุกข์ วิปริณาม
ทุกข์ สังขารทุกข์ ปฏิจฉันนทุกข์ อัปปฏิจฉันนทุกข์ ปริยายทุกข์
นิปริยายทุกข์ เพราะทุกข์เหล่านี้ทุกข์ทางกายและทุกข์ทางใจ ท่านกล่าว
ว่า ทุกขทุกข์ เพราะเป็นทุกข์โดยสภาพของเวทนาและโดยชื่อ.
๑. ม.ม. ๑๓/๕๓๑ ๒. องฺ.อาทิผิด สระ ปญฺจก. ๒๒/๑๙๖. ๓. อภิ.ธา ๓๖/๖๗.
๔. ม.อุ. ๑๔/๓๗๗. ๕. อภิ. วิ. ๓๕/๒๕๕. ๖. ขุ.ป. ๓๑/๘๐.
 
พระปิฎกธรรม