星期四, 十月 01, 2020

Kusinara

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/414/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เกิดขึ้นและความเสื่อมไปแล้วครอบงำถีนมิทธะ พึง
ละทุคติทั้งหมดได้.
จบอุทธตสูตรที่ ๒

อรรถกถาอุทธตสูตร

อุทธตอาทิผิด สูตรที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
บทว่า กุสินารายํ ได้แก่ ใกล้นครของเจ้ามัลละ ชื่อว่ากุสินาราอาทิผิด อักขระ.
บทว่า อุปวตฺตเน มลฺลานํ สาลวเน ความว่า อุทยานแห่งกุสินารานคร
มีอยู่ในทักษิณทิศและปัจฉิมทิศ เหมือนถูปารามแห่งอนุราธบุรี. ทางจาก
ถูปารามเข้าไปยังนคร โดยประตูด้านทักษิณทิศ ตรงไปด้านปาจีนทิศ
วกกลับทางด้านอุตรทิศ ฉันใด แนวไม้สาละจากอุทยานตรงไปด้าน
ปาจีนทิศวกกลับทางด้านอุตรทิศ ก็ฉันนั้น เพราะฉะนั้น เขาจึงเรียกว่า
อุปวัตตนะ เป็นที่แวะเวียน (ทางโค้ง). ในสาลวันของเจ้ามัลละอันเป็นที่
แวะเวียนนั้น. บทว่า อรญฺฐกุฏิกายํ ได้แก่ กระท่อมที่สร้างไว้ในที่
อันดาดาษไปด้วยต้นไม้และกอไม้ ไม่ไกลจากแถวต้นสาละซึ่งท่านหมาย
กล่าวไว้ว่า อรญฺญกุฏิกายํ วิหรนฺติ. ก็ภิกษุเหล่านั้นเว้นการพิจารณา มี
ความเพียรย่อหย่อน อยู่ด้วยความประมาท. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
อุทฺธตา ดังนี้เป็นต้น.
ในภิกษุเหล่านั้น ภิกษุผู้ชื่อว่า อุทธตะ เพราะมีจิตไม่สงบ เหตุมาก
ไปด้วยอุทธัจจะ. มานะชื่อว่านฬะ เพราะเป็นเหมือนไม้อ้อ โดยเป็นของ
เปล่า. ภิกษุชื่อว่า อุนนฬะ เพราะมีนฬะ กล่าวคือมานะสูง อธิบายว่า
มีมานะสูงเปล่า. ชื่อว่า จปละ เพราะประกอบหรือมากไปด้วยความ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: