Thue
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/441/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อวัยวะ. บทว่า ๑“โอสหติ” ได้แก่ ย่อมอดทน. บทว่า “อุลฺลปติ” แปลว่า
ย่อมกล่าว. บทว่า “อุชฺชคฺฆติอาทิผิด อักขระ” ได้แก่ ตบมือแล้วหัวเราะใหญ่. บทว่า
“อุปฺผณฺเฑติอาทิผิด อักขระ” ได้แก่ ย่อมกล่าวคำเยาะเย้ย. บทว่า “อภินิสีทติ” ได้อาทิผิด อักขระแก่
ผู้ชนะแล้วนั่งในสำนักหรือในอาศรมเดียวกัน. แม้ในบทที่ ๒ ก็มีนัยนี้เหมือน
กัน. บทว่า “อชฺโฌตฺถรติ” ได้แก่ ย่อมปูลาด. สองบทว่า “วินิเวเธตฺวา๒
วินิโมเจตฺวา” ได้แก่ เปลี่ยนแปลง ปลดและเปลื้องมือของเขาจากที่อัน
มาตุคามจับแล้ว. คำที่เหลือในที่นี้ มีอรรถตื้นทั้งนั้น.
[๑๔๕] บรรดาภิกษุเหล่านั้น ภิกษุผู้ถืออาทิผิด อักขระบิณฑบาตเป็นวัตร
๕ จำพวก เป็นไฉน ?
๑. ภิกษุเป็นผู้ถือบิณฑบาตเป็นวัตร เพราะเป็นผู้เขลา เป็นผู้งมงาย.
๒. ภิกษุเป็นผู้มีความปรารถนาลามก ถูกความอยากได้เข้าครอบงำ
จึงถือบิณฑบาตเป็นวัตร.
๓. ภิกษุถือบิณฑบาตเป็นวัตร เพราะเป็นบ้า คือ มีจิตฟุ้งซ่าน.
๔. ภิกษุถือบิณฑบาตเป็นวัตร เพราะคิดว่าองค์แห่งภิกษุ ผู้ถือ
บิณฑบาตเป็นวัตรนี้ เป็นข้อที่พระพุทธเจ้า พระสาวกของพระพุทธเจ้า
ทั้งหลายสรรเสริญแล้ว.
๕. อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุเป็นผู้ถือบิณฑบาตเป็นวัตร เพราะอาศัย
ความปรารถนาน้อยอย่างเดียว เพราะอาศัยความสันโดษอย่างเดียว เพราะ
อาศัยความขัดเกลากิเลสอย่างเดียว เพราะอาศัยความต้องการด้วยข้อปฏิบัติ
อันงามนี้อย่างเดียว.
๑. บาลีว่าอูสหติ. ๒. วินิเวเฐตฺวา
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论