星期五, 十月 16, 2020

Pacchimayamam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 66/369/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กิเลสทั้งหลายเสียได้ด้วยประการใด ครั้นทรงเห็นด้วยประการนั้นแล้ว
ทรงเห็นความเป็นไปอย่างนั้น จึงเสด็จปรินิพพาน ฉะนั้นเมื่อจะทรงทำ
ความนั้นให้แจ่มแจ้ง จึงทรงชักชวนเทพบริษัทนั้นในการละกิเลสด้วย
ประการทั้งปวง ทรงเริ่มตรัสคาถา ๕ คาถา มีอาทิว่า มูลํ ปปญฺจสงฺขาย
กิเลสเป็นรากเหง้าแห่งส่วนธรรมเครื่องเนิ่นช้า ดังนี้.
ในคาถานั้น พึงทราบความโดยสังเขปแห่งคาถาต้นก่อน. บทว่า
ปปญฺจ ในบทว่า ปปญฺจสงฺขา ส่วนธรรมเครื่องเนิ่นช้า คือตัณหาที่ท่าน
บอกไว้. ปปญฺจา คือ ตัณหานั้นแล ชื่อว่า ปปญฺจสงฺขา ส่วนแห่งธรรม
เครื่องเนิ่นช้า. กิเลสทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้น เป็นรากเหง้าแห่งปปัญจ-
ธรรมนั้น. ภิกษุพึงกำจัดกิเลสทั้งปวงอันเป็นไปอยู่ คือกิเลสที่เป็นรากเหง้า
แห่งส่วนธรรมเครื่องเนิ่นช้า และอัสมิมานะด้วยปัญญา ก็ตัณหาที่มี
ณ ภายในอย่างใดอย่างหนึ่งพึงเกิดขึ้น ภิกษุพึงเป็นผู้มีสติศึกษา เพื่อ
กำจัดเพื่อละตัณหาเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ คือพึงเป็นผู้มีสติตั้งมั่นศึกษา.
บทว่า อชฺฌตฺตสมุฏฺฐานา วา มีตัณหาในภายในเป็นสมุฏฐาน
คือตัณหาเกิดขึ้นในจิต. บทว่า ปุเรภตฺตํ ในกาลก่อนภัต คือก่อนอาหาร
กลางวัน. บทว่า ปุเรภตฺตํ เป็นทุติยาวิภัตติลงในอรรถแห่งอัจจันตสังโยคะ
แปลว่าสิ้นกาลก่อนภัต. แต่โดยอรรถเป็นสัตตมีวิภัตติ แปลว่า ในกาล
ก่อนภัต. ในภายหลังภัตเป็นต้นก็มีนัยนี้. บทว่า ปจฺฉาภตฺตํ ในภายหลัง
ภัตอาทิผิด อักขระ คือหลังอาหารกลางวัน. บทว่า ปุริมยามํอาทิผิด อักขระ ในยามต้น คือส่วนแรก
ของราตรี. มชฺฌิมยามํ ในยามกลาง คือส่วนที่สองของราตรี. บทว่า
ปจฺฉิมอาทิผิด อักขระยามํ ในยามหลัง คือส่วนที่สามของราตรี. บทว่า กาเฬ คือ
ในข้างแรม. บทว่า ชุณฺเห คือ ในข้างขึ้น. บทว่า วสฺเส ในฤดูฝน
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: