星期六, 七月 10, 2021

Kotiyo

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 49/534/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เชื่อมเข้า. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า วสฺสานิ สตสหสฺสานิ นี้ เป็น
ปฐมาวิภัติ ใช้ในอรรถสัตตมีวิภัติ, อธิบายว่า เมื่อแสนปีล่วงไปแล้ว.
บทว่า โฆโส สุยฺยติ ตาวเท ความว่า ในขณะที่เวลามีประมาณ
เท่านี้ล่วงไปนั่นแหละ เราได้ยินเสียงในนรกนั้น อย่างนี้ว่า ดูก่อน
ท่านผู้นิรทุกข์ทั้งหลาย เวลาของพวกท่านผู้ไหม้อยู่ในนรกนี้ ล่วง
ไปประมาณหนึ่งแสนปี. บทว่า ลกฺโข เอโส มหาราช สตภาค-
วสฺสโกฏิโยอาทิผิด อักขระ ความว่า ข้าแต่มหาราช ๑๐๐ ส่วนโกฏิปี จัดเป็น
กำหนด คือเป็นเขตกำหนดอายุของสัตว์ทั้งหลาย ผู้ไหม้อยู่ในนรก.
ท่านกล่าวคำอธิบายนี้ไว้ว่า ๑๐ ทสกะ เป็น ๑๐๐, ๑๐ ร้อย เป็น
๑,๐๐๐ สิบพัน ๑๐ หน เป็น ๑๐๐,๐๐๐, ร้อยแสน เป็น ๑ โกฏิ,
แสนโกฏิปีด้วยอำนาจโกฏิเหล่านั้น จัดเป็นหนึ่งร้อยโกฏิปี. ก็ร้อย
โกฏิปีนั้นแล พึงทราบด้วยการคำนวณปีเฉพาะสัตว์นรก ไม่ใช่
สำหรับมนุษย์หรือเทวดา. แสนโกฏิปีเป็นอันมากเช่นนี้ เป็นอายุ
ของสัตว์นรกด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ชนผู้ไหม้อยู่ในนรก
สิ้นแสนโกฏิปี ดังนี้. สัตว์ทั้งหลายผู้ไหม้อยู่ในนรกเช่นนี้ เพราะ
กรรมเช่นใด เพื่อจะแสดงบาปกรรมเช่นนั้นโดยคำลงท้าย ท่าน
จึงกล่าวว่า เป็นมิจฉาทิฏฐิ เป็นคนทุศีล และเป็นผู้กล่าวร้ายพระอริยะ
ดังนี้. บทว่า เวทิสฺสํ แปลว่า จักได้เสวยแล้ว.
นันทกเปรตครั้นแสดงผลแห่งความชั่วที่ตนจะพึงเสวย
ในอนาคตอย่างนี้แล้ว บัดนี้ ประสงค์จะทูลเรื่องที่พระราชาตรัส
ถามว่า ท่านมีอานุภาพอย่างนี้เพราะพรหมจรรย์อะไร ดังนี้แล้ว
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: