Prasong
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 48/636/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หายโศกเศร้าเพราะถ้อยคำของมาณพนั้น เมื่อจะชมเชยมาณพ จึงกล่าว
คาถาเหล่านี้ว่า
เจ้ามารดอาทิผิด สระข้าผู้เร่าร้อนให้สงบ ดับความกระวน
กระวายทั้งหมดได้ เหมือนเอาน้ำรดไฟที่ราดเปรียง
ฉะนั้น เจ้าผู้ที่บรรเทาความโศกเศร้าถึงบุตรของข้าผู้
เฝ้าแต่เศร้าโศก ชื่อว่าได้ถอนลูกศรคือความโศกที่
เกาะหัวใจของข้าขึ้นได้แล้ว พ่อมาณพ ข้าเป็นผู้ที่
เจ้าถอนลูกศร คือความโศกขึ้นได้แล้ว ก็เป็นผู้ดับ
ร้อน เย็นสนิท ไม่ต้องเศร้าโศก ไม่ต้องร้องให้
เพราะฟังเจ้า ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รถปญฺชโร ได้แก่ ตัวรถ. บทว่า
น วินฺทามิ แปลว่า ย่อมไม่ได้. บทว่า ภทฺทมาณว เป็นคำร้องเรียก.
บทว่า ปฏิปาทยามิ แปลว่า จะจัดให้ ประสงค์อาทิผิด ความว่า ท่านอย่าสละ
ชีวิตเพราะไม่มีคู่ล้อ. บทว่า อุภเยตฺถ ทิสฺสเร ความว่า พระจันทร์
และพระอาทิตย์ แม้ทั้งสอง ยังเห็นกันได้ในท้องฟ้านี้ ย อักษรทำหน้าที่
เชื่อมบท อีกอย่างหนึ่ง แยกบทเป็น อุภเย เอตฺถ.
บทว่า คมนาคมนํ ความว่า การไปและการมาของพระจันทร์และ
พระอาทิตย์ ยังเห็นกันได้ โดยลงและขึ้นทุก ๆ วัน บาลีว่า คมโนคมนํ
ก็มี ความว่าขึ้นและลง. บทว่า วณฺณธาตุ ได้แก่ แสงสว่างของวรรณะ
ที่เหลือแต่ความเย็น เป็นแสงสว่างน่ารัก [ พระจันทร์ ] ที่เหลือแต่ความ
ร้อน เป็นแสงสว่างที่กล้า [ พระอาทิตย์ ]. บทว่า อุภยตฺถ พึงประกอบ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论