Kham
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/167/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ชื่อว่า อุพภิทะ นั้น ได้แก่ เกลือที่เป็นหน่อขึ้นจากแผ่นดิน.
ชื่อว่า พิละ นั้น ได้แก่ เกลือที่เขาหุงกับเครื่องปรุงทุกอย่าง เกลือ
นั้นแดง.
บทว่า ฉกนํ ได้แก่ โคมัย.
สองบทว่า กาโย วา ทุคฺคนฺโธ มีความว่า กลิ่นตัวของภิกษุ
บางรูป เหมือนกลิ่นตัวแห่งสัตว์มีม้าเป็นต้น จุรณแห่งไม้ซึกและดอกคำอาทิผิด อักขระเป็น
ต้น หรือจุรณแห่งเครื่องหอมทุก ๆ อย่าง ควรแก่ภิกษุแม้นั้น
บทว่า รชนนิปกฺกํ ได้แก่ กากเครื่องย้อม. ภิกษุจะตำแม้ซึ่งจุรณ
ตามปกติแล้วแช่น้ำอาบ ก็ควร. แม้จุรณตามปกตินั้น ย่อมถึงความนับว่า
กากเครื่องย้อมเหมือนกัน.
อมนุษย์เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสด เพราะเหตุนั้น ภิกษุจึงชื่อว่า
ไม่ได้เคี้ยวกินเนื้อดิบและดื่มเลือดสดนั้น. อมนุษย์ ครั้นเคี้ยวกินและดื่มแล้ว
ได้ออกไป เพราะเหตุนั้น พระธรรมสังคาหกาจารย์ จึงกล่าวว่า อาพาธเกิด
แต่อมนุษย์นั้นของเธอย่อมระงับ.
คำว่า อญฺชนํ นี้ เป็นคำกล่าวครอบยาตาทั้งหมด.
บทว่า กาฬญฺชนํ ได้แก่ ชาติแห่งยาตาชนิดหนึ่ง หรือยาตาที่หุงด้วย
เครื่องปรุงทุกอย่าง.
บทว่า รสญฺชนํ ได้แก่ ยาตาที่ทำด้วยเครื่องปรุงต่าง ๆ.
บทว่า โสตญฺชนํ ได้แก่ ยาตาที่เกิดในกระแสน้ำเป็นต้น.
หรดาล กลีบทอง ชื่อเครุกะ.
ชื่อว่า กปัลละ นั้น ได้แก่ เขม่าที่เอามาจากเปลวประทีป.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论