Khwam Chabap Kao Sip Et Lem: ?
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 12/91/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เป็นต้น บุคคลตั้งอยู่แล้วในมโนมยญาณเป็นต้น ให้เกิดขึ้นอยู่ก็ไม่ลำบาก
เพราะฉะนั้น อิทธิวิธญาณเป็นต้น จึงมีการใช้ทรัพย์สินน้อย มีการตระ-
เตรียมน้อย ชื่อว่า ยัญ เพราะละกิเลสอันเป็นข้าศึกของตน ๆ เสียได้.
ก็ในญาณเหล่านี้ อิทธิวิธญาณ พึงทราบว่า มีผลมาก เพราะสามารถ
แสดงการกระทำแปลก ๆ มีอย่างต่าง ๆ.
ทิพยโสต พึงทราบว่า มีผลมาก เพราะสามารถฟังเสียงของเทวดา
และมนุษย์ได้.
เจโตปริยญาณ พึงทราบว่า มีผลมาก เพราะสามารถรู้จิต ๑๖
อย่างของผู้อื่นได้.
บุพเพนิวาสานุสสติญาณ พึงทราบว่า มีผลมาก เพราะสามารถ
ตามระลึกถึงสถานที่ที่ตนไม่ปรารถนาอาทิผิด และปรารถนาได้. ทิพยจักษุ พึงทราบว่า
มีผลมาก เพราะสามารถมองเห็นรูปที่ตนไม่ต้องการอาทิผิด และต้องการได้.
อาสวักขยญาณ พึงทราบว่า มีผลมาก เพราะสามารถยังสุขอันเกิด
จากโลกุตรมรรคอันประณีตยิ่งให้สำเร็จได้. ก็ขึ้นชื่อว่ายัญอย่างอื่น ที่
ประเสริฐกว่าพระอรหัต ไม่มี เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรง
แสดงพระธรรมเทศนาโดยสุดยอด คือพระอรหัต จึงตรัสว่า พราหมณ์
นี้แล ดังนี้เป็นต้น.
บทว่า เอวํ วุตฺเต แปลว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสอย่างนี้
แล้ว กูฏทันตพราหมณ์เลื่อมใสในพระธรรมเทศนา มีประสงค์จะถึงสรณะ
จึงอาทิผิด อาณัติกะได้กล่าวคำนี้มีว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้ง
นัก ดังนี้ เป็นต้น. บทว่า จงพัด ความว่า ขอลมเย็นอ่อน ๆ ที่จะระงับ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论