星期六, 十二月 03, 2022

Phannana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 56/381/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ท่านตอบว่าอย่างไร ?
ท่านตอบว่า ไม่มีแม้แต่น้อย เหตุนั้นพวกเราจึงไม่ทำ
สักการะแก่ท่าน อันเตวาสิกผู้ใหญ่กล่าวว่า พวกเธอมิได้รู้
ความหมายแห่งคำของอาจารย์ ท่านอาจารย์ได้อากิญจัญญายตน-
สมาบัติ แม้ถึงอันเตวาสิกผู้ใหญ่นั้น จะพูดซ้ำแล้วซ้ำเล่า พวก
อันเตวาสิกเหล่านั้น ก็ไม่ยอมเชื่อ พระโพธิสัตว์ทราบเหตุนั้น
ดำริว่า พวกอันธพาลไม่เชื่อถ้อยคำอันเตวาสิกผู้ใหญ่ของเรา
เราต้องกระทำเหตุนี้ให้ปรากฏแก่อันเตวาสิกเหล่านั้น แล้วมา
จากพรหมโลก ยืนอยู่ในอากาศ ด้วยอานุภาพอันใหญ่ เบื้องบน
อาศรมบท เมื่อจะพรรณนาอาทิผิด อักขระปัญญานุภาพของอันเตวาสิกผู้ใหญ่
กล่าวคาถานี้ ความว่า :-
“ แม้จะมีผู้มาประชุมกันตั้งพันกว่า พวก
เหล่านั้นก็ไม่มีปัญญา พึงคร่ำครวญไปตั้ง ๑๐๐ ปี
บุรุษผู้มีปัญญารู้แจ้งความหมายของคำที่เรากล่าว
แล้ว ผู้เดียวเท่านั้นประเสริฐกว่า ” ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปโรสหสฺสมฺปิ แปลว่า แม้เกิน
กว่าพัน.
บทว่า สมาคตานํ ความว่า พวกคนเขลาผู้ไม่สามารถ
ทราบความหมายของคำที่เรากล่าวแล้ว มาประชุมกันแล้ว.
ด้วยบทว่า กนฺเทยฺยุ เต วสฺสสตํ อปญฺญา นี้ พระโพธิสัตว์
แสดงว่า พวกเหล่านั้นที่มารวมกันอย่างนี้ ไร้ปัญญา เหมือนพวก
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: