星期四, 三月 09, 2023

Chen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 34/169/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แม้ผู้ใดพึงเป็นเช่นข้าพเจ้า ฯลฯ และ
ถืออุโบสถปาฏิหาริยปักษ์เถิด.
ก็แลคาถานั้นนั่นท้าวสักกะจอมเทวดาขับไม่เข้าที ไม่เป็นการขับดีแล้ว
กล่าวไม่เหมาะ ไม่เป็นสุภาษิต นั่นเพราะเหตุอะไร เพราะท้าวสักกะจอมเทวดา
ยังไม่พ้นจาก (ชาติ) ความเกิด (ชรา) ความแก่ (มรณะ) ความตาย (โสกะ)
ความโศก (ปริเทวะ) ความคร่ำครวญ (ทุกขะ) ความทุกข์กาย (โทมนัสสะ)
ความทุกข์ใจ (อุปายาสะ) ความคับแค้นใจ เรากล่าวว่ายังไม่พ้นทุกข์ ส่วน
ภิกษุผู้เป็นพระอรหันต์สิ้นอาสวะแล้ว ฯลฯ หลุดพ้นด้วยความรู้ชอบแล้ว จึง
ควรกล่าวคาถานั่นว่า
แม้ผู้ใดพึงเป็นเช่นอาทิผิด อักขระดังข้าพเจ้า ฯลฯ
และถืออุโบสถปาฏิหาริยปักษ์เถิด.
นั่นเพราะเหตุอะไร เพราะภิกษุนั้นพ้นแล้วจาก (ชาติ) ความเกิด ฯลฯ
(อุปายาสะ) ความคับแค้นใจ เรากล่าวว่าพ้นแล้วจากทุกข์.
จบทุติยราชสูตรที่ ๘

๙.สุขุมาลสูตร

ว่าด้วยสุขุมาลชาติ และความเมา ๓ ประการ

[๔๗๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราเป็นสุขุมาล สุขุมาลยิ่ง สุขุมาล
โดยส่วนเดียว เราจะเล่าให้ฟัง ในพระราชนิเวศน์ พระบิดาของเรา โปรด
ให้สร้างสระโบกขรณี สระหนึ่งปลูกอุบล สระหนึ่งปลูกปทุม สระหนึ่งปลูก
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: