星期四, 六月 22, 2023

Khrao khrao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/63/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กำหนดโดย สัณฐาน ว่ากระดูกมีสัณฐานต่าง ๆ กัน . จริงอย่างนั้น
บรรดากระดูกเหล่านั้น กระดูกปลายนิ้วเท้า มีสัณฐานเหมือนเมล็ดตุมกา ต่อ
จากนั้น กระดูกข้อกลางของนิ้วเท้า มีสัณฐานเหมือนเมล็ดขนุนที่ไม่เต็ม
กระดูกข้อต้น มีสัณฐานเหมือนบัณเฑาะว์ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า มีสัณ-
ฐานเหมือนเกล็ดหางนกยูงดังนี้ก็มี กระดูกหลังเท้า มีสัณฐานเหมือนกองราก
ต้นกันทละตำ กระดูกส้นเท้า มีสัณฐานเหมือนเมล็ดผลตาลซึ่งมีเมล็ดเดียว
กระดูกข้อเท้า มีสัณฐานเหมือนลูกกลมของเล่นที่ผูกรวมกัน กระดูกชิ้นเล็กใน
กระดูกแข้งอาทิผิด อาณัติกะ มีสัณฐานเหมือนคันธนู กระดูกชิ้นใหญ่มีสัณฐานเหมือนเส้นเอ็น
แห้งเพราะหิวระหาย ที่กระดูกแข้งตั้งอยู่ในกระดูกข้อเท้า มีสัณฐาน
เหมือนหน่อต้นเป้งลอกเปลือก ที่กระดูกแข้งตั้งอยู่ในกระดูกเข่า มีสัณฐาน
เหมือนยอดตะโพน กระดูกเข่า มีสัณฐานเหมือนฟองน้ำตัดข้างหนึ่ง กระดูก
ขาสัณฐานเหมือนด้ามมีดและขวานที่ถากอาทิผิด สระคร่าว ๆ ที่กระดูกขาตั้งอยู่ในกระดูก
สะเอว มีสัณฐานเหมือนคันหลอดอาทิผิด เป่าไฟของช่างทอง โอกาสที่กระดูกขาตั้ง
อยู่ในกระดูกสะเอวนั้น มีสัณฐานเหมือนผลบุนนาคตัดปลาย. กระดูกสะเอว
แม้มี ๒ ก็ติดเป็นอันเดียวกัน มีสัณฐานเหมือนเตาไฟที่ช่างหม้อสร้างไว้
อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า มีสัณฐานเหมือนหมอนข้างของดาบสดังนี้ก็มี. กระดูก
ตะโพก มีสัณฐานเหมือนคราบงูที่เขาวางคว่ำหน้า กระดูกสันหลัง ๑๘ ชิ้นมี
ช่องเล็กน้อยในที่ ๗- ๘ แห่ง ภายในมีสัณฐานเหมือผืนผ้าโพกศีรษะที่วาง
ซ้อน ๆ กัน ภายนอก มีสัณฐานเหมือนแล่งกลม กระดูกสันหลังเหล่านั้น
มีหนามอาทิผิด อักขระ ๒ - ๓ อัน เสมือนฟันเลื่อย. บรรดากระดูกซี่โครง ๒๔ ชิ้น ส่วน
ที่บริบูรณ์ มีสัณฐานเหมือนเคียวอาทิผิด อักขระชาวสิงหลที่บริบูรณ์ ส่วนที่ไม่บริบูรณ์ มี
สัณฐานเหมือนเคียวชาวสิงหลที่ไม่บริบรูณ์ อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า ทั้งหมด
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: