星期一, 一月 31, 2011

Kwang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 67/275/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กิเลสกาม พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกำหนดรู้วัตถุกาม ทรงละ ทรงครอบงำ
ทรงปกคลุม ทรงท่วมทับ ทรงกําจัด ทรงย่ำยีแล้ว ซึ่งกิเลสกาม เสด็จ
เที่ยวไป ดำเนินไป เป็นไป รักษา บำรุง ทรงเยียวยา เพราะฉะนั้น
จึงชื่อว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงครอบงำกามทั้งหลายแล้วดำเนินไป.
[๓๙๕] พระอาทิตย์ ท่านกล่าวว่า อาทิจฺโจ ในอุเทศว่า อาทิจฺโจว
ปฐวึ เตชี เตชสา ดังนี้.
ชรา ท่านกล่าวว่า ปฐพี พระอาทิตย์มีแสงสว่าง ประกอบด้วย
เดช คือ รัศมี ส่องแผ่ปกคลุมครอบปฐพี ให้ร้อน เลื่อนลอยไปใน
อากาศทั่วไป กำจัดมืด ส่องแสงสว่างไปในอากาศอันว่างเป็นทางเดิน
ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีเดชคือพระญาณ ประกอบด้วยเดชคือ
พระญาณ ทรงกำจัดแล้วซึ่งสมุทัยแห่งอภิสังขารทั้งปวง ฯ ล ฯ ความมืด
คือกิเลส อันธการคืออวิชชา ทรงแสดงแสงสว่างคือญาน ทรงกำหนด
รู้ซึ่งวัตถุกาม ทรงละ ทรงครอบงำ ทรงปกคลุม ทรงท่วมทับ ทรง
กำจัด ทรงย่ำยี ซึ่งกิเลสกาม ย่อมเสด็จเที่ยวไป ดำเนินไป รักษา
บำรุง เยียวยา ฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า เหมือนพระ-
อาทิตย์มีแสงสว่าง ประกอบด้วยเดช ย่อมส่องแสงปกคลุมทั่วปฐพี.
[๓๙๖] คำว่า มีพระปัญญากว้างอาทิผิด ขวางดุจแผ่นดิน. . . แก่ข้า-
พระองค์ผู้มีปัญญาน้อย ความว่า ข้าพระองค์ผู้มีปัญญาน้อย คือ มี
ปัญญาทราม มีปัญญาต่ำ ส่วนพระองค์มีพระปัญญาใหญ่ มีพระปัญญา
มาก มีพระปัญญาร่าเริง มีพระปัญญาแล่น มีพระปัญญากล้าแข็ง มี
พระปัญญาทำลายกิเลส.
ปฐพี ท่านกล่าวว่า ภูริ พระองค์ทรงประกอบด้วยพระปัญญาอัน
๑. ม. ชคตี แปลว่า แผ่นดิน.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 一月 29, 2011

Khati

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/286/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ของหม่อมฉันแล้ว อาพาธจักทุเลา ท่านจักไม่มรณภาพ หม่อมฉันเห็นอำนาจ
ประโยชน์นี้ จึงปรารถนาจะถวายคิลานเภสัชแก่พระสงฆ์ จนตลอดชีพ.
๗. อนึ่ง ข้ออื่นยังมีอีก พระพุทธเจ้าข้า พระองค์ทรงเห็นอานิสงส์
๑๐ ประการ ได้ทรงอนุญาตยาคูไว้แล้ว ที่เมืองอันธกวินทะ หม่อมฉันเห็น
อานิสงส์ตามที่พระองค์ตรัสนั้น จึงปรารถนาจะถวายยาคูประจำแก่สงฆ์ จน
ตลอดชีพ.
๘. พระพุทธเจ้าข้า ภิกษุณีทั้งหลายเปลือยกายอาบน้ำร่วมท่ากับหญิง
แพศยา ณ แม่น้ำอจิรวดีนี้ หญิงแพศยาเหล่านั้นพากันเย้ยหยันภิกษุณีว่า แม่เจ้า
พวกท่านกำลังสาวประพฤติพรหมจรรย์จะได้ประโยชน์อะไร ควรบริโภค
กามมิใช่หรือ ประพฤติอาทิผิด อักขระพรหมจรรย์ต่อเมื่อแก่เฒ่า อย่างนี้ จักเป็นอันพวก
ท่านยึดส่วนทั้งสองไว้ได้ ภิกษุณีเหล่านั้นถูกพวกหญิงแพศยาเย้ยหยันอยู่ ได้
เป็นผู้เก้อ ความเปลือยกายของมาตุคามอาทิผิด สระไม่งาม น่าเกลียดอาทิผิด อักขระ น่าชัง หม่อมฉัน
เห็นอำนาจประโยชน์นี้จึงปรารถนาจะถวายผ้าอุทกสาฎก แก่ภิกษุณีสงฆ์ จน
ตลอดชีพ.
ภ. วิสาขา ก็เธอเห็นอานิสงฆ์อะไร จึงขอพร ๘ ประการต่อตถาคต
วิ. พระพุทธเจ้าข้า ภิกษุทั้งหลายในพระธรรมวินัยนี้ จำพรรษาใน
ทิศทั้งหลายแล้ว จักมาพระนครสาวัตถี เพื่อเฝ้าพระองค์ แล้วจักทูลถามว่า
ภิกษุมีชื่อนี้ถึงมรณภาพแล้ว ท่านมีคติอาทิผิด อักขระอย่างไร มีภพหน้าอย่างไร พระพุทธเจ้า
ข้า พระองค์จักทรงพยากรณ์ภิกษุนั้นในโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล
หรืออรหัตผล หม่อมฉันจักเข้าไปหาภิกษุพวกนั้น แล้วเรียนถามว่า พระคุณ
เจ้ารูปนั้นเคยมาพระนครสาวัตถีไหมเจ้าข้า ถ้าท่านเหล่านั้นจักตอบแก่หม่อม-
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 一月 28, 2011

Thongthae

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/255/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระมุนีทั้งหลายในปางก่อนผู้แสวงหาคุณอันยิ่ง
ใหญ่ มาถึงความเป็นพระสัพพัญญูในโลกนี้ โดย
ประการใด แม้พระศากยมุนี ก็เสด็จมา โดยประการ
นั้น เพราะเหตุนั้น พระศากยมุนีผู้มีจักษุ ชาวโลก
จึงเฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
พระชินเจ้าทั้งหลาย ทรงละมลทินกิเลส มีกาม
เป็นต้นได้เด็ดขาด ด้วยสมาธิและปัญญา แล้วจึง
ดำเนินไป โดยประการใด พระศากยมุนีในปางก่อน
ทรงไว้ซึ่งความรุ่งเรือง เสด็จไป โดยประการนั้น
เพราะฉะนั้น ชาวโลกจึงเฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
อนึ่ง พระชินเจ้าเสด็จถึงพร้อม ซึ่งลักษณะแห่ง
ธาตุและอายตนะเป็นต้นอันถ่องแท้ โดยจำแนก
สภาวะ สามัญญะ และวิภาคะ ด้วยพระสยัมภูอาทิผิด สระญาณ
เพราะฉะนั้น พระศากยะผู้ประเสริฐ ชาวโลกจึง
เฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
สัจจะอันถ่องแท้อาทิผิด อักขระ และอิทัปปัจจยตาอันถ่องแท้ที่
คนอื่นแนะนำไม่ได้ อันพระตถาคตผู้มีสมันตจักษุ
ทรงประกาศแล้ว โดยนัยด้วยประการทั้งปวง เพราะ-
ฉะนั้น พระชินเจ้า ผู้เสด็จไปโดยถ่องแท้ ชาวโลก
จึงเฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
การที่พระชินเจ้า ทรงเห็นโดยถ่องแท้ทีเดียว
ในโลกธาตุแม้มีประเภทมิใช่น้อยในอารมณ์มีรูปาย-
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 26, 2011

Dai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 82/10/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๓] อุทเทสวาระในอัพยากตบท
มูลนยะที่ ๑
๑. มูลยมกะ :-
ธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ที่เป็นอัพยากตะ มีอยู่, ธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมด ชื่อว่าอัพยากตมูล ใช่ไหม ?
ก็หรือว่าธรรมเหล่าใด ชื่อว่าอัพยากตมูล มีอยู่, ธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมด เป็นอัพยากตะ ใช่ไหม ?
๒. เอกมูลยมกะ :-
ธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง ที่เป็นอัพยากตะ มีอยู่, ธรรมเหล่านั้น
ทั้งหมด มีมูลเป็นอันเดียวกันกับอัพยากตมูล ใช่ไหม ?
ก็หรือว่าธรรมเหล่าใด มีมูลเป็นอันเดียวกันกับอัพยากตมูล มี
อยู่, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอัพยากตะ ใช่ไหม ?
๓ อัญญมัญญมูลยมกะ :-
ธรรมเหล่าใดอาทิผิด สระเหล่าหนึ่ง มีมูลเป็นอันเดียวกันกับอัพยากตมูล
มีอยู่, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมด ชื่อว่าเป็นมูลแก่กันและกันกับอัพยากตมูล
ใช่ไหม ?
ก็หรือว่าธรรมเหล่าใด ชื่อว่าเป็นมูลแก่กันและกันกับอัพยากต-
มูล มีอยู่, ธรรมเหล่านั้นทั้งหมด เป็นอัพยากตะ ใช่ไหม ?
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 24, 2011

Khwam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/96/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาปฐมปฏิสัมภิทาสูตรที่ ๗
ปฐมปฏิสัมภิทาสูตรที่ ๗ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า อิทมฺเม เจตโส ลีนตฺตํ ความอาทิผิด สระว่า เมื่อจิตหดหู่เกิดขึ้นแล้ว
ภิกษุย่อมรู้ตามสภาวะความเป็นจริงว่า จิตของเรานี้หดหู่ จิตไปตาม
ถีนมิทธะ ชื่อว่าจิตหดหู่ในภายใน จิตที่กวัดแกว่งไปในกามคุณ ๕
ชื่อว่าจิตฟุ้งไปในภายนอก บทว่า เวทนาเป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงถือเอาด้วยอำนาจมูลแห่งธรรมอันเป็นเครื่องเนิ่นช้า. ด้วยว่า
เวทนาเป็นมูลแห่งตัณหา เพราะตัณหาเกิดขึ้นด้วยอำนาจความสุข
สัญญาเป็นมูลของทิฏฐิ เพราะทิฏฐิ เกิดขึ้นในอวิภูตารมณ์ อารมณ์
ที่ไม่ชัดแจ้งวิตกเป็นมูลแห่งมานะ เพราะอัสมิมานเกิดขึ้นด้วย
อำนาจวิตก. บทว่า สปฺปายา สมฺปาเยสุ ได้แก่ที่เป็นอุปการะและ
ไม่เป็นอุปการะ. บทว่า นิมิตฺตํ ได้แก่ เหตุ. คำที่เหลือในบททั้งปวง
ง่ายทั้งนั้นแล.
จบ อรรถกถาสูตรที่ ๗
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 一月 20, 2011

Pabbajja

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/166/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เพราะราชาของพวกเราเป็นใหญ่ พระราชาของเรา (ต่างหาก) เป็นใหญ่
และจะพึงไม่น่าอัศจรรย์ด้วยสำคัญว่า เป็นจักรพรรดิในทวีปเดียว เป็น
จักรพรรดิในทวีปเดียว อนึ่ง ความมีอนุภาพมากของจักรรัตนะที่สามารถ
มอบความเป็นใหญ่ให้ในมหาทวีปทั้ง ๔ มีทวีปน้อยสองพันเป็นบริวารแม้
นั้นก็จะเสื่อมไป. พระเจ้าจักรพรรดิ ๒ พระองค์ ไม่อุบัติในจักรวาลเดียวกัน
ก็เพราะจะตัดความวิวาท ๑ เพราะไม่น่าอัศจรรย์ ๑ และเพราะจักรรัตนะ
มีอานุภาพมาก ๑ ด้วยประการฉะนี้
ในบทเหล่านี้ว่า ยํ อิตฺถี อรหํ อสฺส สมฺมาสมฺพุทฺโธ ดังนี้
พุทธภาพความเป็นพระพุทธเจ้าที่สามารถให้สัพพัญญูคุณเกิดแล้วรื้อขนอาทิผิด
สัตว์ออกจากโลกจงพักไว้ก่อน. สตรีแม้เพียงตั้งความปรารถนา ก็ย่อม
ไม่สำเร็จพร้อม ( เป็นพระพุทธเจ้า ).
เหตุเป็นเครื่องตั้งความปรารถนาให้สำเร็จเหล่านี้ คือ
มนุสฺสตฺตํ ลิงฺคสมฺปตฺตํ เหตุ สตฺถารทสฺสนํ
ปพฺพชฺชา คุณสมฺปตฺติ อธิกาโร จ ฉนฺทตาอาทิผิด
อฏฺฐธมฺมอาทิผิด อักขระสโนธานา อภินีหาโร สมิชฺฌติ.
อภินิหารย่อมสำเร็จเพราะประชุมธรรม ๘ ประ-
การ คือ ความเป็นมนุษย์ ๑ ความถึงพร้อมด้วย
เพศ (บุรุษ) ๑ เหตุ (คืออุปนิสัยอันเป็นเหตุ
สร้างกุศลมาก) ๑ การได้พบพระคาสดา ๑ การ
ได้บรรพชา ๑ ความอาทิผิด อักขระถึงพร้อมด้วยคุณ (มีฌาน
สมาบัติเป็นต้น) ๑ อธิการ (คือบุญญา-
ภิสมภารอันยิ่งเช่นบำเพ็ญปัญจมหาบริจาค) ๑
ความเป็นผู้มีฉันทะ (ในพระโพธิญาณ) ๑
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 18, 2011

Kon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 15/183/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เธอจึงกล่าว ท่านจักไม่ได้อะไรแม้เพียงก้อนอาทิผิด อาณัติกะโคมัยสด. บทว่า ปาตพฺยตํ ได้
แก่ความส้องเสพ. บทว่า สนฺนิธิการกํ ได้แก่ทำการสั่งสม. บทว่า อปาทานํ
ปญฺญายิตฺถ ความว่า ที่ที่เขาเก็บไปแล้วได้ปรากฏเป็นของพร่องไป. บทว่า
สณฺฑสณฺฑา ความว่า เป็นกลุ่ม ๆ เหมือนจัดไว้เป็นพวกหมู่ในที่หนึ่ง ๆ.
บทว่า มริยาทํ ฐเปยฺยาม ความว่า พวกเราจะตั้งเขตแบ่งกัน.
บทว่า ปาณินา ปหรึสุ ความว่า สัตว์เหล่านั้นเอามือตีคนที่ไม่เชื่อคำตน
ถึง ๓ ครั้ง บทว่า ตทคฺเค โข ปน แปลว่า เพราะทำเหตุนั้นเป็นสิ่งสำคัญ.
บทว่า ขียิตพฺพํ ขีเยยฺย อธิบายว่า พึงประกาศบอกบุคคลผู้ควรประกาศ
คือติเตียนบุคคลที่ควรติเตียน ขับไล่ผู้ที่ควรขับไล่. บทว่า โย เนสํ สตฺโต
ความว่าบรรดาสัตว์เหล่านั้นสัตว์ผู้ใด. ถามว่า ก็สัตว์นั้นเป็นใคร. ตอบว่า
คือพระโพธิสัตว์ของเราทั้งหลาย. หลายบทว่า สาลีนํ ภาคํ อนุปฺปทสฺสาม
ความว่าเราจักนำข้าวสาลีมาจากไร่ของแต่ละคน ๆ ละทะนาน แล้วจะให้
ส่วนข้าวสาลีแก่ท่าน ท่านไม่ต้องทำงานอะไร ขอท่านจงตั้งอยู่ในฐานะ
เป็นหัวหน้าของเราทั้งหลายเถิด.
บทว่า อกฺขรํ อุปนิพฺพตฺตํ ความว่า เกิดบัญญัติโวหารซึ่งเข้าใจ
กันได้ด้วยการนับ. คำว่า ขตฺติโย ขตฺติโย ดังนี้เป็นคำที่เกิดขึ้นคำที่
สอง. บทว่า อกฺขรํ ความว่า ไม่ใช่เฉพาะอักษรอย่างเดียวเท่านั้น แต่
พวกสัตว์เหล่านั้นยังได้ทำการอภิเษกบุคคลนั้น ด้วยการยกย่องถึง ๓ ครั้ง
ว่า ขอให้ท่านจงเป็นใหญ่ในนาของพวกเราดังนี้. บทว่า รญฺเชติ
แปลว่า ย่อมยังผู้อื่นให้มีความสุขเอิบอิ่ม บทว่า อคฺคญฺเญน ความว่า การ
บังเกิดขึ้นด้วยอักษร อันเกิดขึ้นในสมัยแห่งโลกเกิดขึ้น ที่รู้กันว่าเลิศหรือ
รู้จักกันในส่วนเลิศ
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 一月 17, 2011

Gavesanto

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 42/179/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
“ เราแสวงหานายช่างผู้ทำเรือน เมื่อไม่ประสบ
จึงได้ท่องเที่ยวไปสู่สงสาร มีชาติเป็นอเนก ความเกิด
บ่อยๆ เป็นทุกข์, แน่ะนายช่างผู้ทำเรือน เราพบท่าน
แล้ว, ท่านจะทำเรือนอีกไม่ได้, ซี่โครงทุกซี่ของท่าน
เราหักเสียแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อเสียแล้ว, จิตของ
เราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว, เพราะเรา
บรรลุธรรมที่สิ้นตัณหาแล้ว. ”
แก้อรรถ
บรรดาบทเหล่านั้น สองบทว่า คหการํ คเวสวสนฺโตอาทิผิด อักขระ ความว่า เรา
เมื่อแสวงหานายช่างคือตัณหาผู้ทำเรือน กล่าวคืออัตภาพนี้มีอภินิหารอัน
ทำไว้แล้ว แทบบาทมูลแห่งพระพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า ทีปังกร เพื่อ
ประโยชน์แก่พระญาณ อันเป็นเครื่องอาจเห็นนายช่างนั้นได้ คือพระ-
โพธิญาณ เมื่อไม่ประสบ ไม่พบ คือไม่ได้พระญาณนั้นแล จึงท่องเที่ยว
คือเร่ร่อน ได้แก่วนเวียนไป ๆ มา ๆ สู่สงสารมีชาติเป็นอเนก คือสู่
สังสารวัฏนี้ อันนับได้หลายแสนชาติ สิ้นกาลมีประมาณเท่านี้.
คำว่า ทุกฺขา ชาติ ปุนปฺปุนํอาทิผิด สระ นี้ เป็นคำแสดงเหตุแห่งการแสวงหา
ช่างผู้ทำเรือน. เพราะชื่อว่าชาตินี้ คือการเข้าถึงบ่อย ๆ ชื่อว่าเป็นทุกข์
เพราะภาวะที่เจือด้วยชรา พยาธิและมรณะ. ก็ชาตินั้น เมื่อนายช่างผู้ทำ
เรือนนั้น อันใครๆ ไม่พบแล้ว ย่อมไม่กลับ. ฉะนั้น เราเมื่อแสวงหา
นายช่างผู้ทำเรือน จึงได้ท่องเที่ยวไป.
๑. ความเกิดเป็นทุกข์ร่ำไป. ๒. อีกนัยหนึ่ง ผาสุกกา เป็นคำเปรียบกับเครื่องเรือน แปลว่า
จันทันเรือนของท่านเราหักเสียหมดแล้ว. ๓. บาลีเป็น คหการกํ.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 一月 15, 2011

Wa

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 70/468/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อธิบายในคาถานี้ว่า ในภพหลังสุดคือในชาติสุดท้าย เราได้เป็น
เผ่าพันธุ์ของพราหมณ์ คือเกิดในตระกูลพราหมณ์. บทว่า มหาโภคํ
ฉฑฺเฑตฺวาน ความว่า เราทิ้งกองโภคทรัพย์ใหญ่ เหมือนก้อนเขฬะ
บวชคือปฏิบัติเป็นบรรพชิต ได้แก่เป็นผู้เว้นจากกรรมมีกสิกรรมและ
พาณิชกรรมเป็นต้น คือบวชเป็นดาบส.
พรรณนาปฐมภาณวารจบบริบูรณ์

บทว่า อชฺฌายโก ฯ เป ฯ มุนึ โมเน สมาหิตํ ความว่า ญาณ
เรียกว่าโมนะ, ผู้ประกอบด้วยโมนะนั้น ชื่อว่ามุนี, ผู้มีจิตตั้งคือตั้งลง
โดยชอบ ชื่อว่าตั้งมั่นในโมนะนั้น. ชื่อว่านาค เพราะไม่กระทำบาปคือ
โทษ ได้แก่พระอัสสชิเถระ, ซึ่งพระมหานาคนั้นผู้ไพโรจน์ เหมือนดอก
ปทุมอันแย้มบานดีแล้วฉะนั้น.
บทว่า ทิสฺวา เม ฯ เปฯ ปุจฺฉิตุํ อมตํ ปทํ มีเนื้อความง่ายๆ
ทั้งนั้น.
บทว่า วีถินฺตเร เชื่อมความว่า เราเข้าไป คือไปใกล้พระเถระนั้น
ผู้ถึงแล้วโดยลำดับ คือผู้ถึงพร้อมแล้ว ได้แก่เข้าไปแล้วในระหว่างถนน
แล้วจึงถาม.
บทว่าอาทิผิด อาณัติกะ กีทิสํ เต มหาวีร เชื่อมความว่า ข้าแต่มหาวีระผู้บรรลุ
พระอรหัต ในการประกาศพระธรรมจักรครั้งแรก ในระหว่างพระ-
อรหันต์ทั้งหลายในศาสนาของบุรุษผู้มีปัญญาทรงจำได้ทั้งสิ้น ข้าแต่ท่านผู้
มียศใหญ่ เพราะเป็นผู้มากด้วยบริวารอันเกิดตามมา พระพุทธเจ้าของท่าน
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 一月 14, 2011

Kan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 47/153/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ครั้นเห็นแล้วก็ได้มีความดำริอย่างนี้ว่า พระราชาทรงรับดอกไม้ทั้งหลายแล้ว
จะพึงประทานทรัพย์ ๑๐๐ กหาปณะ หรือ ๑,๐๐๐ กหาปณะ (แก่เรา) ก็ทรัพย์
นั้นพึงเป็นความสุขยิ่งกว่าในโลกนี้ แต่การบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้ามีผลประมาณ
มิได้ นับมิได้ ย่อมนำความสุขมาสิ้นกาลนาน เอาเถิด เราจะบูชาพระผู้มี-
พระภาคเจ้า.
นายสุมนมาลาการนั้น มีใจเลื่อมใส ถือดอกไม้กำมือหนึ่ง ซัดไปแล้ว
เฉพาะพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดอกไม้ทั้งหลายไปทางอากาศ ได้เป็น
เพดานดอกไม้ ดำรงอยู่แล้วเบื้องบนของอาทิผิด อักขระพระผู้มีพระภาคเจ้า นายมาลาการ
เห็นอานุภาพนั้นแล้ว ย่อมมีใจเลื่อมใสยิ่งขึ้น ได้ซัดดอกไม้ไปอีกกำมือหนึ่ง
ดอกไม้เหล่านั้น ไปเป็นเกราะดอกไม้ดำรงอยู่แล้ว นายมาลาการซัดดอกไม้ไป
ถึง ๘ กำมือด้วยอาการอย่างนี้ ดอกไม้เหล่านั้นไปเป็นเรือนยอด. พระผู้มี-
พระภาคเจ้าได้ประทับอยู่แล้วภายในเรือนยอด หมู่มหาชนประชุมกันแล้ว
พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงสรรเสริญนายมาลาการ จึงได้ทรงกระทำการแย้ม
พระโอษฐ์ให้ปรากฏ พระอานนทเถระคิดว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมไม่ทำการ
แย้มทั้งหลายให้ปรากฏ เพราะเรื่องมิใช่เหตุ มิใช่ปัจจัย ดังนี้แล้วจึงทูลถาม
ถึงเหตุที่ทำให้แย้มพระโอษฐ์. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อานนท์ นายมาลา-
การนี้ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายสิ้นแสนกัป ในที่สุดก็จะได้เป็น
พระปัจเจกพุทธเจ้า ชื่อว่า สุมนิสสระ ด้วยอานุภาพแห่งการอาทิผิด อักขระบูชานี้.
ก็ในที่สุดแห่งพระวาจา เพื่อจะแสดงพระธรรมเทศนา จึงได้ตรัส
พระคาถานี้ว่า
บุคคลทำกรรมใดแล้ว ไม่เดือดร้อน
ในภายหลัง กรรมนั้นแลที่บุคคลทำแล้วเป็น
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 一月 12, 2011

Yai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 23/240/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถามหากัจจานภัทเทกรัตตสูตร

มหากัจจานภัทเทกรัตตสูตร เริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับ มาอย่างนี้:-
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ตโปทาราเม ความว่า ในอารามที่มีชื่อ
อย่างนี้ ด้วยอำนาจแห่งสระชื่อ ตโปทะ คือ มีน้ำร้อน. ได้ยินว่า ภายใต้
เวภารบรรพตมีภพนาคประมาณห้าร้อยโยชน์ของนาคที่อยู่ ในแผ่นดินทั้งหลาย
เป็นเช่นกับเทวโลก ถึงพร้อมด้วยพื้นอันสำเร็จด้วยแก้วมณี และสวนอันเป็น
ที่รื่นรมย์ทั้งหลาย. ในสถานที่เป็นที่เล่นของนาคทั้งหลายในภพนาคนั้น มี
สระน้ำใหญ่อาทิผิด แม่น้ำชื่อ ตโปทา มีน้ำร้อนเดือดพล่านไหลจากสระนั้น. ก็เพราะ
เหตุไร แม่น้ำนั้นจึงเป็นเช่นนี้. ได้ยินว่า โลกแห่งเปรตใหญ่ล้อมกรุงราชคฤห์.
แม่น้ำตโปทา นี้มาในระหว่างมหาโลหกุมภีนรก ทั้งสองในมหาเปรต โลกนั้น.
เพราะฉะนั้น แม่น้ำตโปทานั้น จึงเดือดพล่านไหลมา. สมจริงดังพระดำรัส
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดังนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม่น้ำตโปทานี้ย่อม
ไหลโดยประการที่สระนั้น มีน้ำใสสะอาด. เย็น ขาว มีท่าดี รื่นรมย์ มีปลาและ
เต่ามาก และมีปทุมประมาณวงล้อบานสะพรั่ง อนึ่ง แม่น้ำตโปทานี้ ไหลผ่าน
ระหว่างมหานรกทั้งสอง เพราะเหตุนั้น แม่น้ำตโปทานี้จึงเดือดพล่านไหลมา
ดังนี้. ก็สระน้ำใหญ่ เกิดข้างหน้าพระอารามนี้ ด้วยอำนาจแห่งชื่อ สระน้ำ
ใหญ่นั้น วิหารนี้ จึงเรียกว่า ตโปทาราม. บทว่า สมิทฺธิ ความว่า นัยว่า
อัตภาพของพระเถระนั้น ละเอียด มีรูปสวย น่าเลื่อมใส เพราะฉะนั้น จึงถึง
อันนับว่า สมิทธิ. บทว่า อาทิพฺรหฺมจริยโก ได้แก่เป็นเบื้องต้นแห่งมรรค
พรหมจรรย์ คือเป็นข้อปฏิบัติ ในส่วนเบื้องต้น. บทว่า อทํ ว วา สุคโต
อฏฺฐายาสนา เป็นต้น พึงให้พิสดารโดยนัยที่กล่าวแล้วในมธุบิณฑิกสูตร.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 一月 11, 2011

Thueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/714/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๑๐. อัณฑภารีสูตร

ว่าด้วยบุรุษมีอัณฑะเท่าหม้อ

[๖๔๙] ฯ ล ฯ ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้ตอบว่า เมื่อผมลงมา
จากภูเขาอาทิผิด อักขระคิชฌกูฏ ได้เห็นบุรุษมีอัณฑะใหญ่เท่าหม้อลอยอยู่ในเวหาส บุรุษ
นั้นแม้เมื่อเดินไปก็แบกอัณฑะนั้นไว้บนบ่า แม้เมื่อนั่งก็ทับอัณฑะนั้นแหละ
แร้งบ้าง กาบ้าง พญาแร้งบ้าง ต่างก็โผถลาตามจิกทึ้งอาทิผิด สระบุรุษนั้น ได้ยินว่า
บุรุษนั้นส่งเสียงร้องครวญคราง ฯ ล ฯ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์นี้ได้
เป็นผู้พิพากษาตัดสินอรรถคดีโกง อยู่ในกรุงราชคฤห์นี้เอง ฯ ล ฯ.
จบอัณฑภารีสูตรที่ ๑๐
จบปฐมวรรคที่ ๑๐

รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ

๑. อัฏฐิสูตร ๒. เปสิสูตร ๓. ปิณฑสูตร
๔. นิจฉวิสูตร ๕. อสิสูตร ๖. สัตติสูตร
๗. อุสุสูตร ๘. ปฐมสูจิสูตร ๙. ทุติยสูจิสูตร
๑๐. อัณฑภารีสูตร.

อรรถกถาอัณฑภารีสูตรที่ ๑๐

ในเรื่องบุรุษมีอัณฑะเท่าหม้อ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บทว่า คามกูโฏ ได้แก่อำมาตย์ผู้วินิจฉัยคดี เพราะเขามีส่วนเสมอ
กับกรรม จึงมีอัณฑะประมาณเท่าหม้อ คือขนาดหม้อใหญ่. เพราะเขารับ
 
พระปิฎกธรรม