星期三, 三月 30, 2011

Chak

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 72/239/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เรือนของพวกกุฎุมพี หัวหน้าช่างหูกในกาลก่อน ได้มาเกิดเป็นลูกชายของ
หัวหน้ากุฎุมพี แม้ภริยาของหัวหน้าช่างหูกในกาลก่อน ก็ได้มาเกิดเป็นลูกสาว
ของหัวหน้ากุฎุมพีคนหนึ่ง. พวกภริยาของช่างหูกที่เหลือในกาลก่อน ได้มา
เกิดเป็นพวกลูกสาวของกุฎุมพีที่เหลือทั้งหลาย หญิงเหล่านั้นแม้ทั้งหมดเจริญ
วัยแล้ว เมื่อจะไปสู่ตระกูลอัน (มีเหย้าเรือน) ต่างก็แยกกันไปยังเรือนของ
กุฏุมพีเหล่านั้น (ชาติก่อนเคยเป็นสามีภรรยากันอย่างใด แม้ชาตินี้ก็ได้มา
เป็นสามีภรรยากันอย่างนั้นอีก). ภายหลังวันหนึ่ง เมื่อมีการป่าวประกาศให้
ไปฟังธรรมที่พระวิหาร พวกกุฎุมพีเหล่านั้นแม้ทั้งหมดได้ทราบว่า พระศาสดา
จักทรงแสดงธรรม จึงได้พร้อมกับภริยาไปยังพระวิหารด้วยมุ่งหมายว่า พวก
เราจักฟังธรรม ในขณะที่คนเหล่านั้นเข้าไปยังท่ามกลางพระวิหาร ฝนก็ตก
ลงมา พวกคนที่รู้จักมักคุ้นกับพระหรือมีญาติที่เป็นสามเณรเป็นต้น ต่างก็จะ
เข้าไปยังบริเวณเป็นต้นของพระและสามเณรที่คุ้นเคยเป็นญาติกันเหล่านั้น
(เพื่อหลบฝน) แต่กุฎุมพีเหล่านั้น ไม่อาจจะเข้าไปในที่แห่งใดแห่งหนึ่งได้
เพราะไม่มีพระภิกษุสามเณรที่รู้จักหรือเป็นญาติเช่นนั้นเลย จึงได้ยืนอยู่ท่าม
กลางพระวิหารเท่านั้น. ต่อมาหัวหน้ากุฎุมพีเหล่านั้นกล่าวว่า ชาวเราเอ๋ย จงดู
ประการอันแปลกของพวกเราซิ ธรรมดาว่าพวกกุลบุตรควรจะเกี่ยวข้องกันได้
ด้วยเหตุเพียงไร. พวกกุฎุมพีจึงถามว่า พวกเราจะทำอย่างไรดีนาย พวกเรา
ถึงซึ่งประการอันแปลกนี้ เพราะไม่มีที่อยู่สำหรับผู้คุ้นเคยกัน พวกเราทั้งหมด
จักอาทิผิด อักขระรวบรวมทรัพย์สร้างบริเวณ. หัวหน้าจึงพูดว่า ดีละนาย แล้วได้ให้ทรัพย์
พันหนึ่ง. คนที่เหลือได้ให้ทรัพย์คนละห้าร้อย พวกผู้หญิงได้ให้ทรัพย์คนละ
สองร้อยห้าสิบ กุฎุมพีเหล่านั้นนำทรัพย์นั้นมาแล้วมอบให้ช่างสร้างเรือนยอด
รายไป ๑,๐๐๐ หลัง ได้ชื่อว่าเป็นบริเวณกว้างขวางเพื่อเป็นที่ประทับสำหรับ
พระศาสดา เพราะค่าอาทิผิด อักขระที่การก่อสร้างนั้นใหญ่ไปเมื่อทรัพย์ไม่เพียงพอ จึงได้
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 三月 29, 2011

Pen Ton

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/222/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ข้อว่า น อุปสมฺปาเทตพฺพํ ได้แก่ ไม่พึงเป็นอุปัชฌาย์ให้กุลบุตร
อุปสมบท.
ข้อว่า น นิสฺสโย ทาตพฺโพ ได้แก่ ไม่พึงเป็นอาจารย์ให้นิสัย.
ก็คำว่า อเสเขน เป็นต้น ในองค์ ๕ นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
หมายเอา ศีล สมาธิ ปัญญา ผล และ ปัจจเวกขณญาณแห่งพระอรหันต์.
ก็สามปัญจกะข้างต้นเหล่านี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วด้วยอำนาจแห่งภิกษุผู้
ไม่สมควร หาได้ตรัสด้วยอำนาจองค์แห่งอาบัติไม่.
ก็แล บรรดาปัญจกะเหล่านี้ เฉพาะ ๓ ปัญจกะอาทิผิด  มีคำเป็นต้น ว่า
อเสขน สีลกฺขนฺเธนอาทิผิด อักขระ ๑ อตฺตนา น อเสเขน ๑ อสฺสทฺโธ ๑ ทรงทำการ
ห้ามด้วยอำนาจแห่งภิกษุผู้ไม่สมควร หาได้ทรงทำด้วยอำนาจองค์แห่งอาบัติไม่.
จริงอยู่ ภิกษุใด ไม่ประกอบด้วยกองธรรม ๕ ของพระอเสขะมีกองศีลเป็นต้น
ทั้งไม่สามารถชักนำผู้อื่นในกองธรรมเหล่านั้น, แต่เป็นผู้ประกอบด้วยโทษมี
อัสสัทธิยะเป็นต้นอาทิผิด สระ ปกครองบริษัท, บริษัทของภิกษุนั้น ย่อมเสื่อมจากคุณทั้ง
หลายมีศีลเป็นต้นแท้ ย่อมไม่เจริญ. เพราะเหตุ นั้น คำเป็นต้นว่า อันภิกษุ
นั้นไม่พึงให้กุลบุตรอุปสมบท ดังนี้ จึงชื่อว่า ตรัสด้วยอำนาจแห่งภิกษุผู้ไม่
สมควร หาได้ตรัสด้วยอำนาจองค์แห่งอาบัติไม่. อันการที่พระขีณาสพเท่านั้น
เป็นพระอุปัชฌาย์อาจารย์ได้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้วหามิได้ ถ้า
จักเป็นอันทรงอนุญาตเฉพาะพระขีณาสพนั้นเท่านั้นไซร้ พระองค์คงไม่ตรัสคำ
ว่า ถ้าความเบื่อหน่ายเกิดขึ้นแก่อุปัชฌาย์ ดังนี้ เป็นต้น ก็เพราะเหตุที่บริษัท
ของพระขีณาสพ ไม่เสื่อมจากคุณทั้งหลายมีศีลเป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึง
ตรัสคำเป็นต้นว่า:- ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ พึงให้กุลบุตร
อุปสมบทได้ ดังนี้ .
ในองค์ทั้งหลายเป็นอาทิผิด สระต้นว่า อธิสีเล สีลวิปิปนฺโน มีวินิจฉัยว่า ภิกษุ
ผู้ต้องอาบัติปาราชิกสังฆาทิเสส ชื่อว่าผู้วิบัติด้วยศีลในอธิศีล. ผู้ต้องอาบัติ ๕
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 三月 25, 2011

Khang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/222/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บรรดาเครื่องเรือนมีเสา ขื่ออาทิผิด อักขระ บันได และกระดานเป็นต้น เครื่องเรือน
อย่างใด อย่างหนึ่ง ซึ่งทำด้วยไม้ก็ตาม ทำด้วยศิลาก็ตาม เสื่อลำแพนชนิดใด
ชนิดหนึ่ง ที่เขาถวายสงฆ์แล้ว เป็นครุภัณฑ์สมควรทำให้เป็นเครื่องลาดพื้นอาทิผิด .
ส่วนหนังแพะ ซึ่งแม้มีคติอย่างเครื่องปูลาด ก็เป็นครุภัณฑ์เหมือนกัน .
หนังที่เป็นกัปปิยะ เป็นของควรแจกกันได้.
แต่ในกุรุนทีอาทิผิด อาณัติกะแก้ว่า หนังทุกชนิดมีขนาดเท่าเตียง เป็นครุภัณฑ์. ครก
สาก กระด้งอาทิผิด สระ หินบด ลูกหินบด รางศิลา อ่างศิลา ภัณฑะของช่างหูกเป็น
อาทิทุกอย่าง มีกระสวย ฟืม และกระทอเป็นต้น เครื่องทำนาทุกอย่าง
ล้อเลื่อนทุกอย่าง เป็นครุภัณฑ์ทั้งอาทิผิด อาณัติกะนั้น.
เท้าเตียง แม่แคร่เตียง เท้าตั่ง แม่แคร่ตั่ง ด้ามมีดและสว่านเป็นต้น
ในของเหล่านี้ อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งถากค้างอาทิผิด อักขระไว้ยังไม่ทันเสร็จ แจกกันได้ แต่
ที่ถากเกลี้ยงเกลาแล้ว เป็นครุภัณฑ์.
อนึ่ง ของเช่นนี้ คือ ด้ามมีดที่ทรงอนุญาต ด้ามและปีกกลด ไม้เท้า
รองเท้า ไม้สีไฟ กระบอกกรอง กระติกน้ำทรงมะขามป้อม หม้อน้ำทรง
มะขามป้อม กระติกน้ำลูกน้ำเต้า หม้อน้ำหนัง หม้อน้ำทรงน้ำเต้า กระติกน้ำ
ทำด้วยเขา จุน้ำไม่เกินบาทหนึ่ง แจกกันได้ทุกอย่าง เขื่องกว่านั้นเป็นครุภัณฑ์.
งาช้างหรือเขาชนิดใดชนิดหนึ่ง ยังมิได้เกลา คงอยู่อย่างเดิม แจก
กันได้.
ในเท้าเตียงเป็นต้น ที่ทำด้วยงาช้างและเขาเหล่านั้น มีวินิจฉัยเช่นกับ
ที่มีมาแล้วในหนหลังนั่นเอง.
ของเช่นนี้ คือ กลักใส่หิงคุ กลักใส่ยาตา แม้ถากเกลาเสร็จแล้ว
ลูกดุม รังดุม แท่นยาตา ด้ามยาตา กราดกวาดน้ำ ทุกอย่างแจกกันได้ทั้งนั้น.
วินิจฉัยในของที่ทำด้วยดิน พึงทราบดังนี้:-
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 三月 24, 2011

Trong

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/271/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บัดนี้ เมื่อจะทรงนำอุปมาอันสอนถึงความที่ภิกษุเหล่านั้นเป็นผู้ว่าง่าย
จึงตรัสคำว่า เสยฺยถาปิ เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุภูมิยํ
ได้แก่ พื้นที่ดีเรียบ เหมือนในประโยคที่ว่า บุคคลพึงหว่านพืชในพื้นที่ดี
ในนาดีอันปราศจากตอไม้เป็นต้น และคำที่มาในประโยคว่า พื้นที่สะอาด
เป็นพื้นที่ดี เป็นต้น. บทว่า จตุมหาปเถ ได้แก่ ในที่ทางใหญ่สองสาย
ตัดผ่านกันไป. บทว่า อาชญฺญรโถ ได้แก่ รถที่เทียมด้วยม้าที่ฝึกดีแล้ว.
บทว่า โอธสฺตปโตโท ความว่า นายสารถีผู้ฉลาดก้าวขึ้นบนรถแล้ว.
สามารถเพื่อจะถือแส้อาทิผิด ที่วางไว้ทางขวางแล้วห้อยลง. บทว่า โยคฺคาจริโย
ได้แก่ นายสารถี. ผู้ใดย่อมฝึกม้า ผู้นั้น ชื่อว่า อสฺสทมฺมสารถิ.
บทว่า เยนิจฺฉกํ คือ ย่อมปรารถนาไปทางใด. บทว่า ยทิจฺฉกํ คือ ย่อม
ต้องการออกไปที่ใด. บทว่า สาเรยฺย คือ พึงไปทางตรงอาทิผิด อักขระข้างหน้า. บทว่า
ปจฺฉา สาเรยฺย คือให้กลับ. บทว่า เอวเมว โข ความว่า เหมือนอย่างว่า
นายสารถีนั้น ย่อมปรารถนาจะไปทางใด ๆ ม้าก็จะขึ้นทางนั้น ๆ ย่อมปรารถนา
โดยคติใด ๆ ก็ถือเอาคตินั้น ๆ นั่นแหละไป ม้าลากรถไป ก็ไม่ห้ามไม่เฆี่ยน
แต่ม้าวางกีบไปในพื้นอันเรียบอย่างดีเท่านั้น. คำที่เราพึงกล่าวซ้ำซากในภิกษุ
ทั้งหลายเหล่านั้นมิได้มีแล้ว ด้วยอาการอย่างนี้ ว่าจงทำการนี้ อย่าทำการนี้
มีกิจที่ควรกระทำก็เพียงเตือนสติเท่านั้น ดังนี้ กิจที่ควรทำก็เป็นอันภิกษุแม้
เหล่านั้น ทำมาก่อนแล้วทั้งนั้น กิจไม่ควรทำเธอก็ละเสียแล้ว. บทว่า ตสฺมา
ความว่า เหล่าภิกษุผู้ว่าง่าย เปรียบเทียบด้วยยานที่เทียมด้วยม้าอาชาไนย ก็ละ
อกุศลธรรมได้ด้วยเพียงให้เกิดสติเท่านั้น เพราะฉะนั้น แม้พวกเธอจงละอกุศล
ธรรมเสีย. บทว่า เอลณฺเฑหิ ได้ยินว่า ต้นละหุ่งทั้งหลายย่อมประทุษ
ร้ายต้นสาละ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสแล้วอย่างนั้น. บทว่า
วิโสเธยฺย คือ พึงตัดต้นละหุ่งทั้งหลาย และเถาวัลย์อื่นเสีย แล้วก็ทำความ
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 三月 21, 2011

Klap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/492/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เข้ารีตเดียรถีย์
[๖๐๒] สมัยนั้น ภิกษุณีรูปหนึ่งครองผ้ากาสาวะ ไปเข้ารีตเดียรถีย์
นางกลับอาทิผิด อักขระมาขออุปสมบทกะภิกษุณีทั้งหลายอีก ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่
พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุณีรูปใด ครองผ้า
กาสาวะไปเข้ารีตเดียรถีย์ นางนั้นมาแล้ว ไม่พึงให้อุปสมบท.
[๖๐๓] สมัยนั้น ภิกษุณีทั้งหลายรังเกียจ ไม่ยินดีการอภิวาท การ
ปลงผม การตัดเล็บ การรักษาแผล จากบุรุษทั้งหลาย ภิกษุทั้งหลายกราบ
ทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาต
ให้ยินดี.
นั่งขัดสมาธิ
[๖๐๔] สมัยนั้น ภิกษุณีทั้งหลายนั่งขัดสมาธิ ยินดีสัมผัสส้นอาทิผิด เท้า ภิกษุ
ทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุณีไม่พึงนั่งขัดสมาธิ รูปใดนั่ง ต้องอาบัติทุกกฏ.
[๖๐๕] สมัยนั้น ภิกษุณีรูปหนึ่งอาพาธ นางเว้นขัดสมาธิไม่สบาย
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุณีนั่งพับเพียบได้.
เรื่องถ่ายอุจจาระ
[๖๐๖] สมัยอาทิผิด อักขระนั้น ภิกษุณีทั้งหลายถ่ายอุจจาระในวัจจกุฎี ภิกษุณีฉัพ-
พัคคีย์ยังครรภ์ให้ตกในวัจจกุฎีนั้นเอง ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระ-
ผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุณีไม่พึงถ่ายอุจจาระใน
วัจจกุฎี รูปใดถ่าย ต้องอาบัติทุกกฏ เราอนุญาตให้ถ่ายอุจจาระในที่ซึ่งเปิดข้าง
ล่างปิดข้างบน.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 三月 18, 2011

Khrong

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/217/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เมื่อพระโพธิสัตว์ประทับนั่งในอากาศทรงแสดงธรรมอยู่อย่างนี้ พระ
ราชาได้ทรงสดับแล้ว จึงทรงเหยียดพระหัตถ์ตรัสว่า จงมาเถิดพ่อ เราแหละ
จักชุบเลี้ยงเจ้า. มีมือตั้งพันเหยียดมาแล้ว พระโพธิสัตว์ไม่ลงในมือคนอื่น ลง
ในพระหัตถ์ของพระราชาเท่านั้น แล้วประทับนั่งบนพระเพลา พระราชาทรง
ประทานความเป็นอุปราชแก่พระโพธิสัตว์นั้น แล้วได้ทรงตั้งมารดาให้เป็น
อัครมเหสี. เมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว พระโพธิสัตว์นั้นได้เป็นพระราชาพระ
นามอาทิผิด อักขระว่า กัฏฐวาหนะ ครองอาทิผิด ราชสมบัติ โดยธรรม ได้เสด็จไปตามยถากรรม.
พระศาสดาครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาทรงแสดงแก่พระเจ้าโกศล
แล้ว ทรงแสดงเรื่อง ๒ เรื่องสืบต่ออนุสนธิ แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระ
มารดาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระมหามายาเทวี พระบิดาในครั้งนั้นได้มาเป็น
พระเจ้าสุทโธทนมหาราช ส่วนพระเจ้ากัฏฐวาหนราชในครั้งนั้น ได้เป็น
เราเองแล.
จบกัฏฐาหาริชาดกที่ ๗

๘. คามนิชาดก

ว่าด้วยไม่ใจเร็วด่วนได้

[๘] เออ ก็ความหวังในผล ย่อมสำเร็จแก่ผู้ไม่
ใจเร็วด่วนได้ เรามีพรหมจรรย์แก่กล้าแล้ว ท่านจง
เข้าใจดังนี้เถิด พ่อคามนิ.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 三月 17, 2011

Anek

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/302/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ที่ชื่อว่า ทุคติ เพราะอรรถว่า มีคติแห่งทุกข์เป็นที่พึ่ง. อีกอย่างหนึ่ง
ชื่อว่า ทุคติ เพราะอรรถว่า มีคติที่เกิดเพราะกรรมที่ชั่วร้ายเพราะมีโทษมาก.
ที่ชื่อว่า วินิบาต เพราะอรรถว่า เป็นสถานที่พวกสัตว์ผู้ชอบทำชั่ว
ตกไปไร้อำนาจ. อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า วินิบาต เพราะอาทิผิด สระอรรถว่า เป็นสถานที่
ที่พวกสัตว์ผู้กำลังพินาศ มีอวัยวะใหญ่น้อยแตกกระจายตกไปอยู่.
ที่ชื่อว่า นิรยะ เพราะอรรถว่า เป็นสถานที่ไม่มีความเจริญที่รู้กัน
ว่าความยินดี อีกอย่างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงกำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน
ด้วยอบายศัพท์. จริงอยู่ กำเนิดสัตว์ดิรัจฉานจัดเป็นอบาย เพราะปราศจาก
สุคติอาทิผิด แต่ไม่จัดเป็นทุคติ เพราะเป็นสถานที่เกิดแห่งสัตว์ทั้งหลายมีพญานาค
เป็นต้น ผู้มีศักดามาก. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเปตวิสัย ด้วยทุคติศัพท์.
จริงอยู่ เปตวิสัยนั้นจัดเป็นอบายด้วย เป็นทุคติด้วย เพราะปราศไปจากทุคติ
และเพราะเป็นคติแห่งทุกข์, แต่ไม่เป็นวินิบาต เพราะไม่มีความตกไป เช่น
กับพวกอสูร. แท้จริง แม้วิมานทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่พวกเปรตผู้มีฤทธิ์มาก.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงอสุรกาย ด้วยวินิปาตศัพท์. ความจริงอสุรกาย
นั้น ท่านเรียกว่า เป็นอบายด้วย เป็นทุคติอาทิผิด อักขระด้วย เพราะอรรถตามที่กล่าวมาแล้ว
และว่าเป็นวินิบาต เพราะเป็นผู้มีความตกไปจากความเกิดขึ้นแห่งสมบัติทั้งปวง,
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงนิรยะนั่นแล ซึ่งมีอเนกอาทิผิด อักขระประการมีอเวจีเป็นต้น
ด้วยนิรยศัพท์.
บทว่า อุปปนฺนา แปลว่า เข้าถึงแล้ว อธิบายว่า เกิดขึ้นแล้วใน
นรกนั้น. ศุกลปักษ์ (ฝ่ายขาว) พึงทราบโดยบรรยายที่แปลกกันจากที่กล่าว
แล้ว. ส่วนความแปลกกันมีดังต่อไปนี้ :- แม้คติแห่งมนุษย์ ท่านก็สงเคราะห์เอา
ด้วยอาทิผิด อักขระสุคติศัพท์ ในศุกลปักษ์นี้. เทวคติเท่านั้นท่านสงเคราะห์เข้าด้วยสัคคศัพท์.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 三月 16, 2011

Phuak

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/352/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[ความต่างกันแห่งอายุกาลของพระวิปัสสีพุทธเจ้าเป็นต้น]
จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าวิปัสสีโดยการนับปี มีพระชนมายุแปด-
หมื่นปี แม้พวกสาวกที่พร้อมหน้าของพระองค์ ก็อายุประมาณเท่านั้นปีเหมือน
กัน. พรหมจรรย์ (ศาสนา) สืบต่อด้วยสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น ซึ่ง
เป็นองค์สุดท้ายเขาทั้งหมด ตั้งอยู่ได้ตลอดแสนหกหมื่นปี ด้วยประการอย่างนี้.
แต่โดยอำนาจแห่งยุคคน พรหมจรรย์ได้ตั้งอยู่ต่อมา ด้วยความสืบต่อกันแห่งยุค
ตลอดยุคคน ๒ ยุคเท่านั้น. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า
ไม่ดำรงอยู่นาน. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้านามว่าสิขี มีพระชนมายุเจ็ดหมื่น
ปี แม้พวกสาวกพร้อมหน้าของพระองค์ ก็มีอายุประมาณเท่านั้นเหมือนกัน.
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า เวสภู มีพระชนมายุหกหมื่นปี แม้พวกอาทิผิด อักขระสาวก
อยู่พร้อมหน้าของพระองค์ ก็มีอายุประมาณเท่านั้นปีเหมือนกัน. พรหมจรรย์
(ศาสนา) สืบต่อด้วยสาวกองค์สุดท้ายเขาทั้งหมด แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า
พระนามอาทิผิด อักขระว่าสิขีและเวสภูแม้นั้นตั้งอยู่ต่อมาได้ประมาณแสนสี่หมื่นปี และประมาณ
แสนสองหมื่นปี. แต่ว่าโดยอำนาจแห่งยุคคน พรหมจรรย์ตั้งอยู่ต่อมาได้ด้วย
การสืบต่อแห่งยุค ตลอดยุคคน ๒ ยุคเท่ากัน ๆ เพราะฉะนั้นพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดำรงอยู่ไม่นาน.
ท่านพระสารีบุตร ฟังเหตุแห่งการดำรงอยู่ไม่นานแห่งพรหมจรรย์ของ
พระพุทธเจ้า ๓ พระองค์อย่างนี้แล้ว มีความประสงค์จะฟังเหตุแห่งการดำรงอยู่
ได้นาน แห่งพรหมจรรย์ของพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์นอกนี้ จึงได้ทูลถาม
พระผู้มีพระภาคเจ้าอีก โดยนัย มีอาทิว่า ก็ อะไรเป็นเหตุ พระเจ้าข้า !.
แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ได้ทรงพยากรณ์แก่ท่าน. คำพยากรณ์นั้นแม้ทั้งหมด
พึงทราบด้วยอำนาจนัยที่ตรงกันข้ามจากที่กล่าวแล้ว. และแม้ในความดำรงอยู่
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 三月 12, 2011

Mala

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/349/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เงินเปล่งรัศมี.
บทว่า อุปริปาสาทวรคโต ความว่า ประทับอยู่ในมหาปราสาท
ชั้นบน. ประทับนั่งเหนือพระราชอาสน์ทองภายใต้มหาเศวตฉัตรที่ยกขึ้น
ไว้ซึ่งควรแก่ความอาทิผิด อักขระยิ่งใหญ่.
ถามว่า ประทับนั่งทำไม ?
แก้ว่า เพื่อบรรเทาความหลับ.
พระราชาองค์นี้แหละ ตั้งแต่วันที่พยายามปลงพระชนม์พระบิดา
พอหลับ พระเนตรทั้ง ๒ ลงด้วยตั้งพระทัยว่าจักหลับ ก็สะดุ้งเฮือกเหมือน
ถูกหอกตั้งร้อยเล่มทิ่มแทง ทรงตื่นอยู่ (ไม่หลับ เพราะหวาดภัย
เหลือเกิน). ครั้นพวกอำมาตย์ทูลถามว่า เป็นอะไร พระองค์ก็มิได้ตรัส
อะไร ๆ. เพราะฉะนั้น ความหลับจึงมิได้เป็นที่พอพระทัยของพระองค์.
ดังนั้นจึงประทับนั่งเพื่อบรรเทาความหลับ.
อนึ่ง ในวันนั้นมีนักษัตรเอิกเกริกมาก. ทั่วพระนครกวาดกัน
สะอาดเรียบร้อย. เอาทรายมาโรย. ประตูเรือนประดับดอกไม้ ๕ สี.
ข้าวตอกและหม้อใส่น้ำอาทิผิด เต็ม. ทุกทิศาภาคชักธงชัย ธงแผ่นผ้า. ประดับ
ประทีปมาลาอาทิผิด อักขระวิจิตรโชติช่วง. มหาชนเล่นนักษัตรกันสนุกสนานตามอาทิผิด อักขระวิถีถนน
เบิกบานกันทั่วหน้า.
อาจารย์บางท่านกล่าวว่า ประทับนั่งเพราะเป็นวันเล่นนักษัตร
ดังนี้ก็มี. ก็แลครั้นกล่าวอย่างนี้แล้ว เป็นอันทำสันนิษฐานว่า นักษัตร
ทุกครั้งเป็นของราชตระกูล แต่พระราชาองค์นี้ ประทับนั่งเพื่อบรรเทา
ความหลับเท่านั้น.
บทว่า อุทานํ อุทาเนสิ ความว่า ทรงเปล่งอุทาน.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 三月 11, 2011

Prakop

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 78/212/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ประกอบด้วยวิตก วิจาร
มีปีติและสุขอันเกิดแต่วิเวก เป็นทุกขาปฏิปทาทันธาภิญญา อยู่ ในสมัยใด
ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ฯลฯ ความไม่หลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ ธัมม-
วิจยสัมโพชฌงค์อันเป็นองค์แห่งมรรค นับเนื่องในมรรค ในสมัยนั้น อันใด
นี้เรียกว่า วีมังสิทธิบาท. ธรรมทั้งหลายอาทิผิด อาณัติกะที่เหลือ เรียกว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วย
วีมังสิทธิบาท.
อภิธรรมภาชนีย์ จบ

ปัญหาปุจฉกะ
[๕๓๖] อิทธิบาท ๔ คือ
๑. ภิกษุในศาสนานี้ เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยฉันท-
สมาธิปธานสังขาร
๒. เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยวิริยสมธิปธานสังขาร
๓. เจริญอิทธิบาทอันประกอบด้วยจิตตสมาธิปธานสังขาร
๔. เจริญอิทธิบาทอันประกอบอาทิผิด สระด้วยวีมังสาสมาธิปธานสังขาร
ติกมาติกาปุจฉา ทุกมาติกาปุจฉา
บรรดาอิทธิบาท ๔ อิทธิบาทไหนเป็นกุศล อิทธิบาทไหนเป็นอกุศล
อิทธิบาทไหนเป็นอัพยากตะ ฯลฯ อิทธิบาทไหนเป็นสรณะ อิทธิบาทไหน
เป็นอรณะ ?
ติกมาติกาวิสัชนา
[๕๓๗] อิทธิบาท ๔ เป็นกุศลอย่างเดียว.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 三月 10, 2011

Alawaka

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/68/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จึงตรัสว่า พ่อจงเอาไป เมื่อเรายังมีชีวิตอยู่จักได้ลูกอีก จงส่งเด็กนั้นไป
พร้อมกับถาดอาหาร. เมื่อพระเทวีกันแสงคร่ำครวญอยู่ ราชบุรุษเหล่านั้น
ก็พาเด็กไปถึงที่อยู่ของอาฬวกยักษ์พร้อมด้วยถาดอาหารกล่าวว่า เชิญเถิด
เจ้าจงรับส่วนของเจ้าไป. อาฬวกยักษ์ฟังคำของบุรุษเหล่านั้นแล้ว ก็
รู้สึกละอาย เพราะตนเป็นพระอริยสาวกแล้ว ได้แต่นั่งก้มหน้า. ลำดับนั้น
พระศาสดาตรัสกะเขาว่า อาฬวกะ บัดนี้ ท่านไม่มีกิจที่จะต้องละอาย
แล้ว จงอุ้มเด็กใส่มือเรา. พวกราชบุรุษก็วางอาฬวกกุมารลงในมืออาฬวก-
ยักษ์ ๆ ก็อุ้มเด็กวางไว้ในพระหัตถ์ของพระทศพล. ส่วนพระศาสดาทรงรับ
แล้ว ก็ทรงวางไว้ในมืออาฬวกยักษ์อีก. อาฬวกยักษ์อุ้มเด็กวางไว้ในมือ
ของเหล่าราชบุรุษ. เพราะพระกุมารนั้นจากมือหนึ่งสู่อีกมือหนึ่งดังกล่าวมา
นี้ จึงพากันขนานพระนามกุมารนั้นว่า หัตถกอาฬวกะ. ครั้งนั้น ราชบุรุษ
เหล่านั้นดีใจ พาพระกุมารนั้นไปยังสำนักพระราชา. พระราชาทอดพระ-
เนตรเห็นพระกุมารนั้น ทรงเข้าพระหฤทัยว่า วันนี้อาฬวกอาทิผิด อักขระยักษ์ไม่รับ
ถาดอาหาร จึงตรัสถามว่า เหตุไรพวกเจ้าจึงพากันมาอย่างนี้เล่า พ่อ.
พวกเขากราบทูลว่า ข้าแต่เทวะ ความยินดีและความจำเริญมีแก่ราชสกุล
แล้ว พระศาสดาประทับนั่งในภพของอาฬวกยักษ์ ทรงทรมานอาฬวก-
ยักษ์ ให้เขาดำรงอยู่ในภาวะเป็นอุบาสก โปรดให้อาฬวกอาทิผิด อักขระยักษ์ให้พระกุมาร
แก่พวกข้าพระองค์ พระเจ้าข้า. แม้พระศาสดาก็ทรงให้อาฬวกยักษ์ถือ
บาตรจีวร เสด็จบ่ายพระพักตร์สู่นครอาฬวี. อาฬวกอาทิผิด อักขระยักษ์นั้น เมื่อจะเข้าสู่
พระนคร ก็รู้สึกละอาย จะถอยกลับ. พระศาสดาทรงแลดูแล้วตรัส
ถามว่า ละอายหรืออาฬวกะ. เขาทูลว่า พระเจ้าข้า ชาวพระนครอาศัย
ข้าพระองค์ ทั้งแม่ ทั้งลูก ทั้งเมีย จึงพากันตาย พวกเขาเห็นข้าพระองค์
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 三月 08, 2011

Khayankhayo

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 32/494/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พวกชาวกรุงโกสัมพี ฟังข่าวว่า เขาว่าพระผู้เป็นเจ้าสาคตะ
ทรมานอัมพติตถนาคได้แล้ว ต่างคอยการเสด็จมาของอาทิผิด อาณัติกะพระศาสดา
จัดแจงสักการะเป็นอันมาก ถวายพระทศพล ชาวเมืองเหล่านั้น ครั้น
ถวายสักการะอย่างมากแด่พระทศพลแล้ว ก็ตกแต่งน้ำใสสีขาว
(ประเภทสุรา ?) ไว้ในเรือนทุกหลัง ตามคำแนะนำของเหล่าภิกษุ
ฉัพพัคคีย์ (ภิกษุ ๖ รูป) วันรุ่งขึ้น เมื่อพระสาคตเถระเที่ยวบิณฑบาต
ก็พากันถวายน้ำนั้น บ้านละหน่อย ๆ พระเถระถูกผู้คนทั้งหลาย
ขะยั้นขะยอ เพราะยังไม่ได้ทรงบัญญัติสิกขาบท ก็ดื่มทุกเรือนหลังละ
หน่อย ๆ เดินไปไม่ไกลนักก็สิ้นสติล้มลงที่กองขยะ เพราะไม่มีอาหาร
รองท้อง. พระศาสดาเสวยเสร็จแล้ว เสด็จออกไปเห็นท่านพระสาคตะ-
เถระนั้น ก็โปรดให้พาตัวไปพระวิหาร ทรงตำหนิอาทิผิด อักขระแล้วทรงบัญญัติ
สิกขาบท. วันรุ่งขึ้น ท่านได้สติ ฟังเขาเล่าถึงเหตุที่ตนทำแล้ว ก็แสดง
โทษที่ล่วงเกิน ขอให้พระทศพลงดโทษแล้ว เกิดความสสดใจ เจริญ
วิปัสสนาแล้วบรรลุพระอรหัต. เรื่องปรากฏในพระวินัย ดังกล่าวมานี้.
พึงทราบเรื่องพิสดารตามนัยที่มาแล้วในวินัยนั้นนั่นแล ภายหลัง พระ-
ศาสดาประทับนั่งในพระเชตวันมหาวิหาร กำลังทรงสถาปนาพระเถระ
ทั้งหลายไว้ในตำแหน่งทั้งหลายตามลำดับ จึงทรงสถาปนาท่านพระ-
สาคตเถระไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะเป็นยอดของเหล่าภิกษุสาวก ผู้
ฉลาดเข้าเตโชธาตุแล.
จบ อรรถกถาพระสูตรที่ ๑๐
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 三月 06, 2011

Thamlai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/252/1  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จำไว้อย่างนี้ ผู้นี้จะหนีไม่ได้ จักทำการของเรา ดังนี้ ก็ดี ผู้นั้นแม้ทำลายอาทิผิด อักขระเครื่อง
จำหนีไป ก็ควรให้บวช.
ฝ่ายผู้ใดรับผูกขาดบ้าน นิคม และท่า เป็นต้น ด้วยส่วย ไม่ส่ง
ส่วยนั้นให้ครบ ถูกส่งไปยังเรือนจำ ผู้นั้นหนีมาแล้ว ไม่ควรให้บวช.
แม้ผู้ใดรวมเก็บทรัพย์ไว้ เลี้ยงชีวิตด้วยกสิกรรมเป็นต้น ถูกใคร ๆ
ส่อเสียดใส่โทษเอาว่า ผู้นี้ได้ขุมทรัพย์ แล้วถูกจองจำจะให้ผู้นั้นบวชในถิ่นนั้น
เอง ไม่ควร. แต่จะให้เขาซึ่งหนีไปแล้วบวชในที่ซึ่งไปแล้วทุกตำบล ควรอยู่.
ในข้อนี้ว่า น ภิกฺขเว ลิขิตโก เป็นต้นนี้ มีวินิจฉัยว่าบุคคลที่
ชื่อว่าผู้ร้ายซึ่งถูกเขียนไว้ จะได้แก่ผู้ร้ายซึ่งถูกเขียนไว้ว่า พบเข้าในที่ใด ให้
ฆ่าเสียในที่นั้น ดังนี้ อย่างเดียวหามิได้ โดยที่แท้ผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งกระทำโจรกรรม
หรือความผิดในพระราชาอย่างหนักชนิดอื่นแล้วหนีไป และพระราชารับสั่งให้
เขียนผู้นั้นลงในหนังสือหรือใบลานว่า ผู้มีชื่อนี้ ใครพบเข้าในที่ใด พึงจับฆ่า
เสียในที่นั้นหรือว่า พึงตัดอวัยวะมีมือและเท้าเป็นต้นของมันเสีย หรือว่า พึง
ให้นำมาซึ่งสินไหมมีประมาณเท่านี้ ผู้นี้ชื่อผู้ร้ายซึ่งถูกเขียนไว้. ผู้นั้นไม่ควร
ให้บวช.
ในคำว่า กสาหโต กตทณฺฑกมฺโม นี้ มีวินิจฉัยว่า ผู้ใดไม่ยอม
ทำการมีให้การและยอมรับใช้เป็นต้น จึงถูกลงอาชญา ผู้นั้นไม่นับว่าผู้ถูกลง
ทัณฑกรรม. ฝ่ายผู้ใดรับเก็บทรัพย์บางอย่าง โดยเป็นส่วน หรือโดยประการ
อื่นแล้วกินเสีย เมื่อไม่สามารถจะใช้คืนให้ จึงถูกเฆี่ยนด้วยหวายว่า นี้แล จง
เป็นสินไหมอาทิผิด ของเจ้า ผู้นี้ชื่อ ผู้ถูกเฆี่ยนด้วยหวาย ถูกลงทัณฑกรรม. ก็แล
เขาจะถูกเฆี่ยนอาทิผิด อาณัติกะด้วยหวายหรือถูกด้วยไม้ค้อนเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม จง
ยกไว้ แผลยังสดอยู่เพียงใด ไม่ควรให้บวชเพียงนั้น. ต่อกระทำแผลทั้งหลาย
ให้กลับเป็นปกติแล้วจึงควรให้บวช.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 三月 05, 2011

Praphruet

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/260/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ของเขาจักชอกช้ำ พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปรกติเป็นสุข
มีความประพฤติอาทิผิด อักขระเรียบร้อย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด ถ้าเจ้า
อุบาลีจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีนี้แหละ เมื่อ
เราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีก็จะอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก.
เด็กชายอุบาลีได้ยินถ้อยคำที่มารดาบิดาสนทนาหารือกัน ดังนี้ จึงเข้า
ไปหาเพื่อนเด็กเหล่านั้น ครั้นแล้วได้พูดชวนว่า มาเถิดพวกเจ้า พวกเราจัก
พากันไปบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร.
เด็กชายเหล่านั้นพูดว่า ถ้าเจ้าบวช แม้พวกเราก็จักบวชเหมือนกัน.
เด็กชายเหล่านั้นไม่รอช้า ต่างคนต่างก็เข้าไปหามารดาบิดาของตน ๆ
แล้วขออนุญาตว่า ขอท่านทั้งหลายจงอนุญาตให้ข้าพเจ้า ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตเถิด.
มารดาบิดาของเด็กชายเหล่านั้นก็อาทิผิด อาณัติกะอนุญาตทันที ด้วยคิดอาทิผิด อักขระเห็นว่า เด็ก
เหล่านั้นต่างก็มีฉันทะร่วมกัน มีความมุ่งหมายดีด้วยกัน ทุกคน.
เด็กพวกนั้นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา ภิกษุทั้งหลายให้
พวกเขาบรรพชาอุปสมบท.
ครั้นปัจจุสมัยแห่งราตรี ภิกษุใหม่เหล่านั้น ลุกขึ้นร้องไห้ วิงวอนว่า
ขอท่านทั้งหลายจงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว.
ภิกษุทั้งหลายพูดอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย จงขอให้ราตรีสว่างก่อน
ถ้าข้าวต้มมี จักได้ดื่ม, ถ้าข้าวสวยมี จักได้ฉัน, ถ้าของเคี้ยวมี จักได้เคี้ยว.
ถ้าข้าวต้มข้าวสวย หรือของเคี้ยวอาทิผิด ไม่มี ต้องเที่ยวบิณฑบาตฉัน ภิกษุใหม่
เหล่านั้นอันภิกษุทั้งหลาย แม้กล่าวอยู่อย่างนี้แล ก็ยังร้องไห้วิงวอนอยู่อย่าง
นั้นแลว่า จงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว ถ่ายอุจจาระรดบ้าง
ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง ซึ่งเสนาสนะ.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 三月 02, 2011

Udon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/38/11  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กำหนดเขตปัจจันตชนบทและมัชฌิมอาทิผิด อักขระชนบท
บรรดาชนบทเหล่านั้น ปัจจันตอาทิผิด ชนบท มีกำหนดเขต ดังนี้ :-
ในทิศบูรพามีนิคมชื่อกชังคละ ถัดนิคมนั้นมาถึงมหาสาลนคร นอก
นั้นออกไปเป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท.
ในทิศอาคเนย์ มีแม่น้ำชื่อสัลลวตี นอกแม่น้ำอาทิผิด สระสัลลวตีนั้นออกไป
เป็นปัจจันตชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท.
ในทิศทักษิณ มีนิคมชื่อเสตกัณณิกะ นอกนิคมนั้นออกไปเป็นปัจจันต
ชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท.
ในทิศปัจฉิม มีพราหมณคามชื่อถูนะ นอกนั้นออกไป เป็นปัจจันต
ชนบท ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท.
ในทิศอุดรอาทิผิด อักขระ มีภูเขาชื่ออุสีรธชะ นอกนั้นออกไป เป็นปัจจันตชนบท
ร่วมในเป็นมัชฌิมชนบท.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตการอุปสมบท ด้วยคณะสงฆ์มีวินัยธร
เป็นที่ ๕ ได้ ทั่วปัจจันตชนบทเห็นปานนี้.
๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พื้นดินในอวันตีทักขิณาบถ มีดินสีดำมาก
ดื่นดาษด้วยระแหงกีบโค เราอนุญาตรองเท้าหลายชั้น ทั่วปัจจันตชนบท.
๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนทั้งหลายในอวันตีทักขิณาบถ นิยมการ
อาบน้ำถือว่าน้ำทำให้บริสุทธิ์ เราอนุญาตการอาบน้ำได้เป็นนิตย์ทั่วปัจจันต-
ชนบท.
๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในอวันตีทักขิณาบถ มีหนังเครื่องลาด คือ
หนังแกะ หนังแพะ หนังมฤค ในมัชฌิมชนบท มีหญ้าตีนกา หญ้าหางนกยูง
หญ้าหนวดแมว หญ้าหางช้าง แม้ฉันใด ในอวันตีทักขิณาบถ ก็มีหนังเครื่อง

๑. จังหวัดภายในเป็นศูนย์กลางของประเทศ.
 
พระปิฎกธรรม