Trong
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/271/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บัดนี้ เมื่อจะทรงนำอุปมาอันสอนถึงความที่ภิกษุเหล่านั้นเป็นผู้ว่าง่าย
จึงตรัสคำว่า เสยฺยถาปิ เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุภูมิยํ
ได้แก่ พื้นที่ดีเรียบ เหมือนในประโยคที่ว่า บุคคลพึงหว่านพืชในพื้นที่ดี
ในนาดีอันปราศจากตอไม้เป็นต้น และคำที่มาในประโยคว่า พื้นที่สะอาด
เป็นพื้นที่ดี เป็นต้น. บทว่า จตุมหาปเถ ได้แก่ ในที่ทางใหญ่สองสาย
ตัดผ่านกันไป. บทว่า อาชญฺญรโถ ได้แก่ รถที่เทียมด้วยม้าที่ฝึกดีแล้ว.
บทว่า โอธสฺตปโตโท ความว่า นายสารถีผู้ฉลาดก้าวขึ้นบนรถแล้ว.
สามารถเพื่อจะถือแส้อาทิผิด ที่วางไว้ทางขวางแล้วห้อยลง. บทว่า โยคฺคาจริโย
ได้แก่ นายสารถี. ผู้ใดย่อมฝึกม้า ผู้นั้น ชื่อว่า อสฺสทมฺมสารถิ.
บทว่า เยนิจฺฉกํ คือ ย่อมปรารถนาไปทางใด. บทว่า ยทิจฺฉกํ คือ ย่อม
ต้องการออกไปที่ใด. บทว่า สาเรยฺย คือ พึงไปทางตรงอาทิผิด อักขระข้างหน้า. บทว่า
ปจฺฉา สาเรยฺย คือให้กลับ. บทว่า เอวเมว โข ความว่า เหมือนอย่างว่า
นายสารถีนั้น ย่อมปรารถนาจะไปทางใด ๆ ม้าก็จะขึ้นทางนั้น ๆ ย่อมปรารถนา
โดยคติใด ๆ ก็ถือเอาคตินั้น ๆ นั่นแหละไป ม้าลากรถไป ก็ไม่ห้ามไม่เฆี่ยน
แต่ม้าวางกีบไปในพื้นอันเรียบอย่างดีเท่านั้น. คำที่เราพึงกล่าวซ้ำซากในภิกษุ
ทั้งหลายเหล่านั้นมิได้มีแล้ว ด้วยอาการอย่างนี้ ว่าจงทำการนี้ อย่าทำการนี้
มีกิจที่ควรกระทำก็เพียงเตือนสติเท่านั้น ดังนี้ กิจที่ควรทำก็เป็นอันภิกษุแม้
เหล่านั้น ทำมาก่อนแล้วทั้งนั้น กิจไม่ควรทำเธอก็ละเสียแล้ว. บทว่า ตสฺมา
ความว่า เหล่าภิกษุผู้ว่าง่าย เปรียบเทียบด้วยยานที่เทียมด้วยม้าอาชาไนย ก็ละ
อกุศลธรรมได้ด้วยเพียงให้เกิดสติเท่านั้น เพราะฉะนั้น แม้พวกเธอจงละอกุศล
ธรรมเสีย. บทว่า เอลณฺเฑหิ ได้ยินว่า ต้นละหุ่งทั้งหลายย่อมประทุษ
ร้ายต้นสาละ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสแล้วอย่างนั้น. บทว่า
วิโสเธยฺย คือ พึงตัดต้นละหุ่งทั้งหลาย และเถาวัลย์อื่นเสีย แล้วก็ทำความ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论