星期二, 三月 01, 2011

Mai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/704/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้แก่ ทั้งสองอย่างเหล่านี้เป็นไม้กอมีดอก. บทว่า มธุคนฺธิยา ได้แก่ มี
กลิ่นเหมือนน้ำผึ้ง. บทว่า นิลิยา สุมนา ภณฺฑี ได้แก่ มะลิเลื้อย มะลิ
ปกติ และชบา. บทว่า ปทุมุตฺตโรอาทิผิด สระ ได้แก่ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง. บทว่า กณิการา
จ ได้แก่ กรรณิการ์เถาบ้าง กรรณิการ์ต้นบ้าง. บทว่า เหมชาลาว ความ
ว่า ปรากฏเหมือนข่ายทองที่ขึงไว้. บทว่า มโหทธิ ได้แก่ สระมุจลินท์ขัง
น้ำไว้มาก.
อนึ่ง ในสระโบกขรณีนั้น มีเหล่าสัตว์ที่เที่ยวหา
กินในน้ำเป็นอันมาก คือปลาตะเพียน ปลาช่อน ปลา
ดุก จระเข้ ปลามังกร ปลาฉลาม ผึ้งที่ไม่มีตัว ชะ-
เอมเครือ กำยาน ประยงค์ กระวาน แห้วหมู สัตต-
บุษย์ สมุลแว้ง ไม้อาทิผิด อาณัติกะกฤษณาต้นมีกลิ่นหอม แฝกดำ
แฝกขาว บัวบก เทพทาโร โกฐทั้ง ๙ กระทุ่มเลือด
และดองดึง ขมิ้น แก้วหอม หรดาลทอง คำคูน
สมอพิเภก ไคร้เครือ การบูรและรางแดง.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อถสฺสา โปกฺขรณิยา ความว่า
อัจจุตฤาษีกล่าวเรียกสระนั่นแหละว่าโบกขรณีในที่นี้ เพราะเป็นเช่นกับสระโบก-
ขรณี. บทว่า โรหิตา เป็นต้น เป็นชื่อของสัตว์ที่เที่ยวหากินในน้ำเหล่านั้น.
บทว่า มธุ จ ได้แก่ ผึ้งที่ไม่มีตัว. บทว่า มธุลฏฺฐิ จ ได้แก่ ชะเอม
เครือ. บทว่า ตาลิยา เป็นต้น ทั้งหมดเป็นไม้มีกลิ่นหอมตามธรรมชาติ.
อนึ่ง ที่ป่านั้นมีเหล่าราชสีห์ เสือโคร่ง ยักขินี
ปากเหมือนอาทิผิด อักขระลา และเหล่าช้าง เนื้อฟาน ทราย กวางดง
ละมั่ง ชะมด สุนัขจิ้งจอก กระต่าย บ่าง สุนัขใน
จามรี เนื้อสมัน ชะนี ลิงลม ค่าง ลิง ลิง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: