星期二, 八月 30, 2011

Phedan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 49/543/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ที่พื้นดิน. บทว่า ปริวตฺตามิ แปลว่า ย่อมหมุนไป. บทว่า วาริจโรว
แปลว่า เหมือนปลา. บทว่า ฆมฺเม ได้แก่ บนบกอันร้อนเร่าด้วย
ความร้อน.
บทว่า สนฺตสฺสิโต ได้แก่ กระหายนัก เพราะริมฝีปาก คอ
และเพดานอาทิผิด อักขระถึงความเหือดแห้งไป. บทว่า สาตสุขํ ได้แก่ ความสุข
อันเป็นความสำราญ. บทว่า น วินฺเท แปลว่า ย่อมไม่ได้. บทว่า
ตํ แปลว่า ซึ่งท่าน. บทว่า วิชาน แปลว่า จงรู้. บทว่า ปยาโต
แปลว่า เริ่มจะไป. บทว่า อนฺวคจฺฉิ แปลว่า ติดตาม. บทว่า
ปจฺจาสนฺโต แปลว่า หวังเฉพาะ. บทว่า เอตํ ในบทว่า ตสฺเสตํ
กมฺมสฺส นี้ เป็นเพียงนิบาต อธิบายว่า แห่งกรรมนั้น. บทว่า
ปิฏฺฐิโต คณฺเหยฺยาสิ ความว่า พึงถือเอาอ้อยทางเบื้องหลังของตน
นั่นแหละ. บทว่า ปโมทิโต ได้แก่ บันเทิงใจ.
บทว่า คเหตฺวาน ตํ ขาทิ ยาวทตฺถํ ความว่า นันทเปรต
ถือเอาอ้อยโดยทำนองที่พระเถระสั่ง แล้วเคี้ยวกินตามชอบใจ
ถือเอามัดอ้อยมัดใหญ่ น้อมเข้าไปถวายพระเถระ พระเถระเมื่อจะ
อนุเคราะห์เขา จึงให้เขานั่นแหละ ถือเอามัดอ้อยนั้นไปยังพระ-
เวฬุวันมหาวิหาร ได้ถวายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้า
พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ฉันอ้อยนั้น แล้วกระทำอนุโมทนา เปรตมี
จิตเลื่อมใส ถวายบังคมแล้วก็ไป ตั้งแต่นั้นมา เขาก็บริโภคอ้อย
ตามความสบาย.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 八月 29, 2011

Kan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 3/978/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
หัวข้อประจำเรื่อง
๑. โกสิยสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตเจือด้วยไหม
๒. สุทธกาฬกสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตแห่งขนเจียมดำ
ล้วน
๓. เทวภาคสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตแห่งขนเจียมดำ
ล้วน ๒ ส่วน
๔. ฉัพพัสสสิกขาบท ว่าด้วยการทรงสันถัตไว้ให้ได้ ๖ ฝน
๕. นิสีทนสันถตสิกขาบท ว่าด้วยการทำสันถัตสำหรับนั่ง
๖. เอฬกโลมสิกขาบท ว่าด้วยการรับขนเจียม
๗. เอฬกโลมโธวาปนสิกขาบท ว่าด้วยการซักขนเจียม
๘. รูปิยอุคคหสิกขาบท ว่าด้วยการรับทองเงิน
๙. รูปิยสังโวหารสิกขาบท ว่าด้วยการอาทิผิด อักขระซื้อขายด้วยรูปิยะ มี
ประการต่าง ๆ
๑๐. กยวิกกยสิกขาบท ว่าด้วยการแลกเปลี่ยนมีประการต่าง ๆ

โกสิยวรรคที่ ๒ สิกขาบทที่ ๑๐
พรรณนากยวิกกยอาทิผิด สิกขาบท
กยวิกกยสิกขาบทว่า เตน สนเยน เป็นต้น ข้าพเจ้าจะกล่าว
ต่อไป:- ในกยวิกกยสิกขาบทนั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-
คำว่า กตีหิปิ ตฺยายํ คือ สังฆาฏิอาทิผิด อักขระผืนนี้ ของท่านจักอยู่ได้กี่วัน.
ในบทว่า กตีหิปิ นี้ หิ ศัพท์ เป็นปทปูรณะ ปิ ศัพท์เป็นไปในความ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 28, 2011

Praman

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/3/21  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาอาทิผิด อักขระสัมพุทธเจ้า
พระนามว่าวิปัสสี ได้เป็นกษัตริย์โดยพระชาติ ทรงอุบัติในขัตติยสกุล พระผู้
มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าสิขี ได้เป็นกษัตริย์โดยพระชาติ
ทรงอุบัติในขัตติยสกุล พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่า
เวสสภู ได้เป็นกษัตริย์โดยพระชาติ ทรงอุบัติในขัตติยสกุล พระผู้มีพระภาค
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่ากกุสันธะ. ได้เป็นพราหมณ์โดยพระชาติ
ทรงอุบัติในพราหมณสกุล พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนาม
ว่าโกนาคมนะ ได้เป็นพราหมณ์โดยพระชาติ ทรงอุบัติในพราหมณสกุล
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่ากัสสปะ ได้เป็นพราหมณ์
โดยพระชาติ ทรงอุบัติในพราหมณสกุล ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราผู้อรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้าในบัดนี้ ได้เป็นกษัตริย์โดยชาติ อุบัติในขัตติยสกุล.
[๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระนามว่าวิปัสสี เป็นโกญฑัญญโคตร พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระนามว่าสิขี เป็นโกณฑัญญโคตร พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระนามว่าเวสสภู เป็นโกณฑัญญโคตร พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาอาทิผิด อักขระสัม-
พุทธเจ้า พระนามว่ากกุสันธะ เป็นกัสสปโคตร พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมา
สัมพุทธเจ้า พระนามว่าโกนาคมนะ เป็นกัสสปโคตร พระผู้มีพระภาคอรหันต-
สัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่ากัสสปะ เป็นกัสสปโคตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย
เราผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าในบัดนี้ เป็นโคตมโคตร.
[๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระชนมายุของพระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าวิปัสสี ประมาณอาทิผิด อักขระ ๘๐,๐๐๐ ปี พระชนมายุของ
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าสิขี ประมาณ ๗๐,๐๐๐ ปี
พระชนมายุของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าเวสสภู
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 26, 2011

Yan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 67/418/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เป็นคำร้องเรียกของพราหมณ์นั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ท่านปิงคิยะ
ทูลถามว่า.
[๕๑๓] คำว่า นัยน์ตาไม่แจ่มใส หูฟังไม่สะดวก ความว่า
นัยน์ตาไม่แจ่มใส ไม่หมดจด ไม่บริสุทธิ์ ไม่ผ่องแผ้ว ข้าพระองค์เห็น
รูปไม่ชัดด้วยนัยน์ตาเช่นนั้น เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า นัยน์ตาไม่แจ่มใส.
คำว่า หูฟังไม่สะดวก ความว่า หูไม่แจ่มใส ไม่หมดจด ไม่
บริสุทธิ์ ไม่ผ่องแผ้ว ข้าพระองค์ฟังเสียงไม่ชัดด้วยหูเช่นนั้น เพราะฉะนั้น
จึงชื่อว่า นัยน์ตาไม่แจ่มใส หูฟังไม่สะดวก.
[๕๑๔] คำว่า ข้าพระองค์อย่าเป็นคนหลงเสียไปในระหว่างเลย
ความว่า ข้าพระองค์อย่าเสียหายพินาศไปเลย.
คำว่า เป็นผู้หลง คือ เป็นผู้ไม่รู้ ไปแล้วในอวิชชา ไม่มีญาณอาทิผิด
ไม่มีปัญญาแจ่มแจ้ง มีปัญญาทราม.
คำว่า ในระหว่าง ความว่า ข้าพระองค์ไม่รู้ ไม่ทำให้แจ้ง ไม่
ทำให้ปรากฏ ไม่ได้เฉพาะ ไม่ถูกต้อง ไม่ทำให้กระจ่างแล้ว ซึ่งธรรม
ทิฏฐิ ปฏิปทา มรรค ของพระองค์ พึงทำกาละเสีย ในระหว่างแท้จริง
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ข้าพระองค์อย่าเป็นคนหลงเสียไปในระหว่างเลย.
[๕๑๕] คำว่า ขอโปรดตรัสบอกธรรม ในอุเทศว่า อาจิกฺข ธมฺมํ
ยมหํ วิชญฺญํ ดังนี้ ความว่า ขอพระองค์โปรดตรัสบอก ... ขอจงประกาศ
ซึ่งพรหมจรรย์อันงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด พร้อม
ทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง และสติปัฏฐาน
สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริย-
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 24, 2011

Ya

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/187/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
หน่าย อธิบายว่า จริงอยู่ ในการฟ้อนรำหรือขับร้อง ในชมพูทวีปทั้งสิ้นนี้
ใครอื่นที่จะเสมอด้วยนางทั้ง ๔ นี้ย่อมไม่มี.
พระนางทรงคร่ำครวญกะพระสุณิสาดังนี้แล้ว เมื่อไม่มองเห็นอุบาย
อันควรถืออย่างอื่น จึงทรงกล่าวคาถา ๘ คาถา แช่งด่ากัณฑหาลพราหมณ์ว่า
ดูก่อนกัณฑหาละ ความโศกเศร้าใจใด ย่อมเกิด
มีแก่เรา ในเมื่อจันทกุมารถูกเขานำไปเพื่อจะฆ่า แม่
ของเจ้าจงได้ประสบความโศกเศร้าใจของเรานี้ ดูก่อน
กัณฑหาละ ความโศกเศร้าใจใดย่อมเกิดมีแก่เรา ใน
เมื่อสุริยกุมารถูกเขานำไปจะฆ่า แม่ของเจ้าจงได้
ประสบความโศกเศร้าใจของเรานี้ ดูก่อนเจ้ากัณฑ-
หาละ ความโศกเศร้าใจใดย่อมเกิดมีแก่เรา ในเมื่อ
จันทกุมารถูกเขานำไปเพื่อจะฆ่าภรรยาของเจ้าจงประสบ
ความโศกเศร้าใจของเรานี้ ดูก่อนเจ้ากัณฑหาละ ความ
โศกเศร้าใจใดย่อมเกิดมีแก่เรา ในเมื่อสุริยกุมารถูก
เขานำไปเพื่อจะฆ่า ภรรยาของเจ้า จงได้ประสบความ
โศกเศร้าใจของเรานี้ ดูก่อนเจ้ากัณฑหาละ เจ้าได้ให้
ฆ่าพระกุมารทั้งหลาย ผู้ไม่คิดประทุษร้าย ผู้องอาจ
ดังราชสีห์ แม่ของเจ้าจงอย่าอาทิผิด สระได้เห็นพวกลูก ๆ และ
อย่าได้เห็นสามีเลย ดูก่อนเจ้ากัณฑหาละ เจ้าได้ให้
ฆ่าพระกุมารทั้งหลาย ผู้เป็นที่มุ่งหวังของโลกทั้งปวง
แม่ของเจ้าจงอย่าได้เห็นพวกลูก ๆ และอย่าได้เห็น
สามีเลย ดูก่อนเจ้ากัณฑหาละ เจ้าได้ให้ฆ่าพระกุมาร
ทั้งหลาย ผู้ไม่คิดประทุษร้าย ผู้องอาจดังราชสีห์
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 23, 2011

Phra

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/644/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
และโสวีระประเทศเวลากลางวัน ข้าพเจ้าทุกคนทน
ความระหายน้ำไม่ได้ ทั้งมุ่งหมายจะอนุเคราะห์
สัตว์พาหนะ รีบเดินทางมาในกลางคืน ซึ่งเป็นเวลา
วิกาลอาทิผิด ข้าพเจ้าทั้งหลายจึงได้พลาดทาง ไปผิดทาง
หลงทางไม่รู้ทิศ เดินเข้าไปในป่าที่ไปได้แสนยาก
กลางทะเลทราย วุ่นวายเหมือนคนตาบอด ข้าแต่
ท่านเทวะผู้ควรบูชา พวกข้าพเจ้าได้พบวิมานอัน
ประเสริฐ และตัวท่านนี้ ซึ่งไม่เคยพบมาก่อน จึง
หวังจะรอดชีวิตยิ่งกว่าแต่ก่อน เพราะพบกัน พวก
ข้าพเจ้าจึงพากันร่าเริง ดีใจและปลื้มใจ.
เทพบุตรถามว่า
ดูก่อนพ่อทั้งหลาย พวกท่านไปทะเลทราย
ทั้งฝั่งโน้น ทั้งฝั่งนี้ และไปทางที่มีเชิงหวายและ
หลักตอ ไปหลายทิศที่ไปได้ยาก คือมีแม่น้ำ และ
ที่ขรุขระของภูเขา เพราะโภคทรัพย์เป็นต้นเหตุ พวก
ท่านไปยังแว่นแคว้นของพระอาทิผิด สระราชาอื่น ๆ ได้เห็นพวก
มนุษย์ชาวต่างประเทศ เราขอฟังสิ่งอัศจรรย์ ที่พวก
ท่านได้ฟังหรือได้เห็นมาในสำนักของพวกท่าน.
พวกพ่อค้าตอบว่า
ข้าแต่พ่อกุมาร สมบัติของมนุษย์ที่แล้ว ๆ มา
ทั้งหมด พวกข้าพเจ้าไม่เคยได้ยินหรือได้เห็น
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 20, 2011

Tang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 35/536/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้แก่ ขด. บทว่า อุชุํ กายํ ปณิธาย ได้แก่ ตั้งสรีระเบื้องบนให้ตรง
ให้ปลายกับปลายกระดูกสันหลัง ๑๘ ข้อจดเรียงกัน เมื่อนั่งอย่างนี้หนังเนื้อ
และเอ็นก็ไม่ค้อม เมื่อเป็นเช่นนั้น เวทนาเหล่าใดอันมีความค้อมเป็นปัจจัย
จึงเกิดขึ้นทุกขณะแก่ภิกษุเหล่านั้น เวทนานั้นก็จะไม่เกิดขึ้น เมื่อเวทนา
เหล่านั้นไม่เกิด จิตก็ย่อมมีอารมณ์เป็นหนึ่ง กรรมฐานก็ไม่ตก มีแต่เจริญ
งอกงาม.
บทว่า ปริมุขํ สติ อุปฏฐเปตฺวา ความว่า ตั้งสติอันมีหน้าเฉพาะ
ต่อกรรมฐาน หรือกระทำไว้ใกล้หน้า. ด้วยเหตุนั้นแล ท่านจึงกล่าวไว้ใน
วิภังค์ว่า สตินี้เป็นอันเข้าไปตั้งอาทิผิด อักขระไว้แล้ว เข้าไปตั้งไว้แล้วด้วยดี ที่ปลายจมูกหรือ
ที่มุขนิมิตใกล้หน้า ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปริมุขํ สติํ อุปฏฐเปตฺวา
(เข้าไปตั้งอาทิผิด อักขระสติไว้เฉพาะหน้า) ดังนี้. อีกนัยหนึ่ง ศัพท์ ปริ มีอรรถว่า กำหนด.
ศัพท์ว่า มุขํ มีอรรถว่า นำออกไป. บทว่า สติ มีอรรถว่า เข้าไปตั้งไว้.
ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปริมุขํ สติํ ดังนี้ พึงทราบความในบทนี้โดย
นัยที่กล่าวไว้แล้วในปฏิสัมภิทา ด้วยประการฉะนี้. ความย่อในปฏิสัมภิทานั้นว่า
การทำสติอันกำหนดไว้และนำออกไป.
ในบทว่า อภิชฺฌํ โลเก นี้ อุปาทานขันธ์ ๕ ชื่อว่าโลก เพราะ
อรรถว่าชำรุดทรุดโทรมไป. เพราะฉะนั้น พึงเห็นความในบทนี้อย่างนี้ว่า
ละราคะ ข่มกามฉันทะในอุปาทานขันธ์ ๕ ดังนี้ . บทว่า วิคตาภิชฺเฌน
ความว่า มีใจ ชื่อว่าปราศจากอภิชฌา เพราะละได้ด้วยการข่มไว้มิใช่มีใจ
เช่นกับจักขุวิญญาณ. บทว่า อภิชฺฌาย จิตฺตํ ปริโสเธติ ได้แก่ ชำระ
จิตให้หมดจดจากอภิชฌา. อธิบายว่า ภิกษุกระทำโดยประการที่อาทิผิด สระอภิชฌาปล่อย
จิตนั้นแล้วจะไม่กลับมาเกาะจิตอีก. แม้ในบทว่า พฺยาปาทปฺปโทสํ ปหาย
เป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน . ชื่อว่า พยาบาทเพราะเบียดเบียน คือจิต ต้องละ
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 18, 2011

Bandu Kamphon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/427/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาชุณหสูตร

ชุณหสูตรที่ ๔ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
บทว่า กโปตกนฺทรายํ ได้แก่ ในวิหารมีชื่ออย่างนั้น. ได้ยินว่า
เมื่อก่อนนกพิราบเป็นอันมากอยู่ในซอกเขานั้น. ด้วยเหตุนั้น ซอกเขานั้น
จึงเรียกกันว่า กโปตกันทรา. ภายหลังถึงเขาสร้างวิหารไว้ในที่นั้น ก็ยัง
ปรากฏว่า กโปตกันทรา อยู่นั่นเอง. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า กโป-
ตกนฺทรายนฺติ เอวํนามเก วิหาเร.
บทว่า ชุณฺหาย รตฺติยา ได้แก่ ในราตรีศุกลปักษ์. บทว่า นโว-
โรปิเตหิ เกเสหิ ได้แก่ มีผมที่ปลงไม่นาน ก็คำว่า เกเสหิ นี้ เป็น
ตติยาวิภัตติ ใช้ในลักษณะอิตถัมภูต. บทว่า อพฺโภกาเส ได้แก่ ที่เนิน
กลางแจ้งที่ไม่มีเครื่องมุงหรือเครื่องบัง. ในพระเถระเหล่านั้น ท่านพระ-
สารีบุตรมีวรรณดุจทองคำ ท่านมหาโมคคัลลานะมีวรรณดังดอกอุบลเขียว
ก็พระมหาเถระทั้งสององค์นั้นเป็นชาติพราหมณ์โดยเฉพาะ สมบูรณ์ด้วย
อภินิหาร สิ้นหนึ่งอสงไขยยิ่งด้วยแสนกัป บรรลุปฏิสัมภิทา ๖ เป็นพระ-
ขีณาสพผู้ใหญ่ ได้สมาบัติทุกอย่าง ถึงที่สุดสาวกบารมีญาณ ๖๗ ประการ
ทำกโปตกันทราวิหารแห่งเดียวกันให้สว่างไสวไพโรจน์ เหมือนสีหะ ๒ ตัว
อยู่ถ้ำทองแห่งเดียวกัน เหมือนเสือโคร่ง ๒ ตัว หยั่งลงสู่พื้นที่เหยียดกาย
แห่งเดียวกัน เหมือนพญาช้างฉัททันต์ ๒ เชือก เข้าป่าสาลวันซึ่งมีดอก
บานสะพรั่งแห่งเดียวกัน เหมือนพญาครุฑ ๒ ตัวอยู่ป่าฉิมพลีแห่งเดียว
กัน เหมือนท้าวเวสวัณ ๒ องค์ ขึ้นยานสำหรับพาคนไปยานเดียวกัน
เหมือนท้าวสักกะ ๒ องค์ ประทับนั่งบนบัณฑุกัมพลอาทิผิด สระศิลาอาสน์เดียวกัน
เหมือนท้าวมหาพรหม ๒ องค์ อยู่ในวิมานเดียวกัน เหมือนดวงจันทร์ ๒
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 14, 2011

Kakkhala

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/256/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โศกเศร้าแก่คนอื่นด้วยการลักทรัพย์เป็นต้น . บทว่า กิลมยโต คือลำบาก
เองก็ดี ทำให้คนอื่นลำบากก็ดี ด้วยการตัดอาหาร และกักขังในเรือนจำเป็นต้น.
บทว่า ผนฺทโต ผนฺทาปยโต คือดิ้นรนเองก็ดี ทำผู้อื่นให้ดิ้นรนก็ดี ใน
เวลามัดคนอื่นซึ่งกำลังดิ้นรน. บทว่า ปาณมติปาตยโต คือ ฆ่าเองก็ดี
ใช้ผู้อื่นฆ่าก็ดี ซึ่งสัตว์มีชีวิต. พึงทราบความในที่ทุกแห่ง โดยการทำเองและ
ใช้ให้คนอื่นทำ โดยนัยที่กล่าวมานี้. บทว่า สนฺธิํ คือ ตัดช่อง (ย่องเบา).
นิลโลปํ คือ ปล้นสดมภ์. บทว่า เอภาคาริกํ คือ ล้อมเรือนหลังเดียว
เท่านั้น ปล้น. บทว่า ปริปนฺเถ ติฏฺฐโต คือ ยืนดักที่หนทางเพื่อชิงทรัพย์
ของคนเดินทาง. บทว่า กโรโต น กริยติ ปาปํ ความว่า บาปของคนที่
แม้กระทำด้วยเข้าใจว่า เราทำบาปอย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อว่าไม่กระทำบาป
ไม่มี ก็สัตว์ทั้งหลายย่อมเข้าใจอย่างนี้ว่า เรากระทำ. บทว่า ขุรปริยนฺเตน
คือ ปลายคม. บทว่า เอกํ มํสขลํ คือ กองเนื้อกองหนึ่ง. บทว่า ปุญฺชํ
เป็นไวพจน์ของคำว่า เอกํ มํสขลํ นั้นแล. บทว่า ตโตนิทานํ แปลว่า
มีเหตุจากการกระทำให้เป็นกองเนื้อกองหนึ่งนั้น. เหล่าคนทางฝั่งใต้เป็นพวก
กักขฬะอาทิผิด อักขระ ทารุณ ท่านหมายเอาคนเหล่านั้น จึงกล่าวว่า หนนฺโต เป็นต้น.
เหล่าคนทางฝั่งเหนือ มีศรัทธา เลื่อมใสนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา
พระธรรมว่าเป็นของเรา พระสงฆ์ว่าเป็นของเรา ท่านหมายเอาคนเหล่านั้น
จึงกล่าวว่า ททนฺโต เป็นต้น.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยชนฺโต คือกระทำการบูชาใหญ่. บทว่า
ทเมน คือด้วยการฝึกอินทรีย์ คือ อุโบสถกรรม. บทว่า สํยเมน คือ ด้วย
การสำรวมในศีล. บทว่า สจฺจวาเจน คือด้วยกล่าวคำสัตย์. การมา อธิบาย
ว่า ความเป็นไปชื่อว่า อาคม. สมณพราหมณ์บางพวกปฏิเสธการทำบาปและ
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 13, 2011

Pharathawacha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 43/464/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ด้วยกำลังคือขันติ อันเป็นหมู่ เพราะเกิดขึ้นบ่อย ๆ นั่นแล ว่า เป็น
พราหมณ์.
ในกาลจบเทศนา ชนเป็นอันมากบรรลุอริยผลทั้งหลาย มีโสดา-
ปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล.
เรื่องอักโกสกภารทวาชอาทิผิด อักขระพราหมณ์ จบ.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 10, 2011

Santati

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 76/578/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ว่าด้วยปัจจุบันกาล ๓ อย่าง
ชื่อว่า ปัจจุบัน นี้ มี ๓ อย่าง คือ
ขณปัจจุบัน
สันตติปัจจุบัน
อัทธาปัจจุบัน.
บรรดาปัจจุบัน ๓ เหล่านั้น ปัจจุบันที่ถึงอุปปาทขณะ ฐีติขณะ และ
ภังคขณะ ชื่อว่า ขณปัจจุบัน. ปัจจุบันเนื่องด้วยวาระเป็นไปติดต่อกันสิ้น
วาระหนึ่งหรือสองวาระ ชื่อว่า สันตติปัจจุบัน.
ในข้อสันตติอาทิผิด ปัจจุบันนั้น เมื่อบุคคลนั่งในที่มืดแล้ว ออกมาสู่ที่สว่าง
อารมณ์ยังไม่แจ่มแจ้งทันที อารมณ์นั้นจะปรากฏชัดเจนตราบใด ภายในระหว่างนี้
พึงทราบวาระที่สืบต่อกันสิ้นหนึ่งหรือสองวาระ เมื่อบุคคลเที่ยวไปในที่แจ้งแล้ว
เข้าไปห้องน้อย (ห้องมืด) แล้วรูปารมณ์ก็ยังไม่ปรากฏทันทีก่อน รูปารมณ์นั้น
ยังไม่ปรากฏตราบใด ภายในระหว่างนี้ ก็พึงทราบวาระการสืบต่อสิ้นหนึ่งวาระ
หรือสองวาระ ก็เมื่อบุคคลยืนอยู่ในที่ไกล แม้เห็นการไหวมือของพวก
ช่างย้อมและการไหวมือเคาะระฆังตีกลองก็ยังไม่ได้ยินเสียงทันที และยังไม่ได้ยิน
เสียงตราบใด ในระหว่างแม้นี้ ก็พึงทราบวาระการสืบต่อหนึ่งหรือสองวาระ.
ท่านมัชฌิมภาณกาจารย์กล่าวไว้อย่างนี้ก่อน.
ส่วนท่านสังยุตตภาณกาจารย์กล่าวถึง สันตติมี ๒ อย่าง คือรูปสันตติ
และอรูปสันตติ แล้วกล่าวว่า ระลอกน้ำที่บุคคลเดินข้ามน้ำลุยไปยังฝั่ง ยังไม่ใส
สนิทตราบใด เมื่อบุคคลมาจากทางไกล ความร้อนในกายยังไม่สงบไปตราบใด
นี้ชื่อว่า รูปสันตติ (ความสืบต่อแห่งรูป) เมื่อบุคคลมาจากแดดเข้าไปสู่ห้อง
ความมืดยังไม่ไปปราศตราบใด เมื่อบุคคลมนสิการกรรมฐานภายในห้อง เปิด
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 八月 08, 2011

Satthiwiharik

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/157/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พึงผึ่งแดดอาทิผิด ทำให้สะอาดตบเสีย แล้วนำกลับวางปูไว้ตามเดิม กระโถน พนักอิง
พึงผึ่งแดดอาทิผิด เช็ดถูเสีย แล้วขนกลับตั้งอาทิผิด อักขระไว้ตามเดิม.
พึงเก็บบาตรจีวร เมื่อเก็บบาตร พึงเอามือข้างหนึ่งจับบาตร เอามือ
ข้างหนึ่งลูบคลำใต้เตียงหรือใต้ตั่ง แล้วจึงเก็บบาตร แต่ไม่พึงวางบาตรบนพื้น
ที่ไม่มีสิ่งใดรอง.
เมื่อเก็บจีวร พึงเอามือข้างหนึ่งถือจีวร เอามือข้างหนึ่งลูบราวจีวรหรือ
สายระเดียงแล้วทำชายไว้ข้างนอก ทำขนดไว้ข้างในแล้วจึงเก็บจีวร.
ถ้าลมเจือด้วยผงคลีพัดมาแต่ทิศตะวันออก พึงปิดหน้าต่างด้านตะวัน-
ออก ถ้าพัดมาแต่ทิศตะวันตก. พึงปิดหน้าต่างด้านอาทิผิด อักขระตะวันตก ถ้าพัดมาแต่
ทิศเหนือ พึงปิดหน้าต่างด้านเหนือ ถ้าพัดมาแต่ทิศใต้ พึงปิดหน้าต่างด้านใต้
ถ้าฤดูหนาว พึงเปิดหน้าต่างกลางวัน พึงปิดกลางคืน ถ้าฤดูร้อน พึงปิดหน้า
ต่างกลางวัน พึงเปิดกลางคืน.
ถ้าบริเวณ ซุ้มอาทิผิด อาณัติกะน้ำ โรงฉัน โรงไฟ วัจจกุฎี รก พึงปัดกวาดเสีย
ถ้าน้ำฉันน้ำใช้ไม่มี พึงจัดตั้งไว้ ถ้าน้ำในหม้อชำระไม่มี พึงตักน้ำมาไว้ใน
หม้อชำระ.
ถ้าความกระสันบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงช่วยระงับหรือพึง
วานภิกษุอื่นให้ช่วยระงับ หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น ถ้าความ
รำคาญบังเกิดแก่สัทธิวิหาริก อุปัชฌายะพึงบรรเทาหรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย
บรรเทา หรือพึงทำธรรมกถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น ถ้าความเห็นผิดบังเกิดแก่
สัทธิวิหาริกอุปัชฌายะพึงให้สละเสียหรือพึงวานภิกษุอื่นให้ช่วย หรือพึงทำธรรม-
กถาแก่สัทธิวิหาริกนั้น ถ้าสัทธิอาทิผิด สระวิหาริกต้องอาบัติหนัก ควรปริวาส อุปัชฌายะ
พึงทำความขวนขวายว่า ด้วยอุบายอย่างไรหนอ สงฆ์พึงให้ปริวาสแก่สัทธิ-
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 06, 2011

Dueat Ron

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 70/614/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อธิบายในตอนนี้ว่า พระสัมพุทธเจ้า คือพระปัจเจกพุทธเจ้า ครั้น
กล่าวคำนี้ ด้วยประการดังนี้แล้ว เมื่อจะบรรเทาคือคลายความเร่าร้อน
คือความร้อนที่เกิดขึ้นแก่สัตว์ทั้งหลาย จึงเหาะขึ้นยังนภากาศในกาลนั้น
ต่อหน้ามหาชนคือต่อหน้าชนหมู่ใหญ่พร้อมทั้งพระราชาผู้มาประชุมกันอยู่.
บทว่า เตน กมฺเมนหํ ธีร ความว่า ข้าแต่พระธีรเจ้า คือข้าแต่
พระองค์ผู้สมบูรณ์ด้วยธิติ เพราะกรรมนั้น คือเพราะกรรมคือความไม่
เอื้อเฟื้อที่ได้กระทำไว้ในพระปัจเจกพุทธเจ้า ในอัตภาพสุดท้ายนี้ ข้า-
พระองค์จึงเข้าถึง คือถึงพร้อมซึ่งความเลวทราม คือความลามก ได้แก่
ความเกิดในการทำการงานเป็นช่างกัลบกของพระราชาทั้งหลาย.
บทว่า สมติกฺกมฺม ตํ ชาติํ ความว่า ล่วง คือล่วงพ้นไปด้วยดี
ซึ่งความเกิด อันเนื่องด้วยผู้อื่นนั้น. บทว่า ปาวิสิํ อภยํ ปุรํ ความว่า
ข้าพระองค์เข้าไปแล้ว คือเป็นผู้เข้าไปสู่นิพพานบุรี คือนิพพานมหานคร
อันปลอดภัย.
บทว่า ตทาปิ มํ มหาวีร ความว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นวีรบุรุษ
ผู้สูงสุด แม้ในกาลนั้น คือแม้ในสมัยที่ทำพระปัจเจกพุทธเจ้าให้ขัดเคือง
นั้น พระสยัมภู คือพระปัจเจกพุทธเจ้า ได้ทรงบรรเทาคือทรงทำให้ห่าง
ไกล ซึ่งความเร่าร้อน คือความกระวนกระวายทางกายและจิตอันเกิดขึ้น
เพราะเหตุแห่งความขัดเคือง. เชื่อมความว่า พระสยัมภูทรงเห็นโทษอัน
ตั้งอยู่ดีแล้ว คือตั้งอยู่ด้วยดีในการแสดงความเป็นโทษ จึงอดโทษเรา
ผู้เร่าร้อน คือเดือดอาทิผิด อักขระร้อนอยู่ด้วยความเดือดร้อนในภายหลัง คือด้วยความ
รำคาญใจนั้นนั่นแหละ คืออดกลั้นความผิดนั้น.
บทว่า อชฺชาปิ มํ มหาวีร ความว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สูงสุดแห่ง
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 04, 2011

Thippha Chakkhu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 80/642/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นั่นแหละ อันธรรม คือ จตุตถฌานอุปถัมภ์แล้ว ชื่อว่าเป็น ทิพพจักขุ
ดังนี้ สกวาทีหมายชนเหล่านั้น จึงถามปรวาทีว่า มังสจักขุ อัน-
ธรรมอุปถัมภ์แล้วเป็นทิพพจักขุหรือ คำตอบรับรองเป็นของ
ปรวาที. ก็ถูกถามอีกว่า มังสจักขุก็คือทิพพจักขุ ทิพพจักขุก็คือ
มังสจักขุหรือ ปรวาทีปฏิเสธว่า มังสจักขุนั้นก็เป็นเพียงมังสจักษุ
นั้นเท่านั้น ไม่เป็นอย่างอื่น. แม้ในคำถามทั้งหลายว่า มังสจักขุ
เป็นเช่นใด เป็นต้น ปรวาทีตอบปฏิเสธ เพราะความที่จักษุทั้ง ๒
นั้น ไม่มีสภาพอย่างเดียวกัน. แม้ในปัญหามีคำว่า วิสัย เป็นต้น
ความว่า รูปายตนะนั่นแหละเป็นวิสัยแห่งจักษุแม้ทั้ง ๒. อธิบายว่า
ก็มังสจักขุย่อมเห็นรูปอันมาสู่คลองแห่งจักษุเท่านั้น ส่วนทิพพจักขุนี้
ย่อมเห็นรูปอันไม่มาสู่คลองแห่งจักษุได้ แม้รูปนั้นจะมีภูเขากั้นไว้
เป็นต้น. อนึ่ง รูปแม้ละเอียดยิ่งนัก ก็เป็นโคจรคืออารมณ์ของทิพพจักขุ
ได้ แต่รูปเช่นนี้เป็นอารมณ์ของมังสจักขุไม่ได้เลย เพราะฉะนั้น
อานุภาพ คือ อำนาจ และโคจร คือ อารมณ์ แห่งจักษุทั้ง ๒
นี้ จึงไม่เหมือนกัน ด้วยประการฉะนี้. ถูกถามว่า เป็นอุปาทินนะ
คือเป็นกัมมชรูป แล้วเป็นอนุปาทินนะอาทิผิด สระ คือมิใช่กัมมชรูป
หรือ ปรวาทีนั้น ย่อมปรารถนาว่า มังสจักขุเป็นอุปาทินนะ ส่วน
ทิพพจักขุเป็นอนุปาทินนะ ทั้งมังสจักขุนั้นและก็ไม่เป็นทิพพจักขุอาทิผิด เพราะ-
ฉะนั้นจึงตอบปฏิเสธ. ถูกถามครั้งที่ ๒ ปรารถนา ทิพพจักขุย่อมเกิด
ขึ้นเพราะอาศัยมังสจักขุเป็นปัจจัย เพราะอาศัยพระบาลีว่า ความ
เกิดขึ้นแห่งมังสจักขุเป็นทางแห่งทิพพจักขุ ดังนี้ ทั้งมังสจักขุนั้นก็
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 03, 2011

Phai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/255/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๒๑] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นภัย ความเป็นไปเป็นภัย
เครื่องหมายเป็นภัย ความประมวลมาเป็นภัย ความสืบต่อเป็นภัย
ความไปเป็นภัย ความบังเกิดเป็นภัย ความอุบัติเป็นภัย ความเกิดเป็น
ภัยอาทิผิด อักขระ ความแก่เป็นภัย ความป่วยไข้เป็นภัย ความตายเป็นภัย ความ
เศร้าโศกเป็นภัย ความรำพันเป็นภัย ความคับแค้นใจเป็นภัย.
[๒๒] ควรรู้ยิ่งว่า ความไม่เกิดขึ้นปลอดภัย ความไม่
เป็นไปปลอดภัย ความไม่มีเครื่องหมาย ปลอดภัย ความไม่ประมวลมา
ปลอดภัย ความไม่สืบต่อปลอดภัย ความไม่ไปปลอดภัย ความไม่บังเกิด
ปลอดภัย ความไม่อุบัติปลอดภัย ความไม่เกิดปลอดภัย ความไม่แก่
ปลอดภัย ความไม่ป่วยไข้ปลอดภัย ความไม่ตายปลอดภัย ความไม่
เศร้าโศกปลอดภัย ความไม่รำพันปลอดภัย ความไม่คับแค้นใจปลอดภัย.
[๒๓] ควรรู้ยิ่งว่า ความเกิดขึ้นเป็นภัย ความไม่เกิดขึ้น
ปลอดภัย ความเป็นไปเป็นภัย ความไม่เป็นไปปลอดภัย เครื่องหมาย
เป็นภัย ความไม่มีเครื่องหมายปลอดภัย ความประมวลมาเป็นภัย ความ
ไม่ประมวลมาปลอดภัย ความสืบต่อเป็นภัย ความไม่สืบต่อปลอดภัย
ความไปเป็นภัย ความไม่ไปปลอดภัย ความบังเกิดเป็นภัย ความไม่
บังเกิดปลอดภัย ความอุบัติเป็นภัย ความไม่อุบัติปลอดภัย ความเกิด
เป็นภัย ความไม่เกิดปลอดภัย ความป่วยไข้เป็นภัย ความไม่ป่วยไข้
ปลอดภัย ความตายเป็นภัย ความไม่ตายปลอดภัย ความเศร้าโศก
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 02, 2011

Chetopariyayan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 87/251/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิ-
ธรรม เพราะปรารภขันธ์นั้น ราคะ ย่อมเกิดขึ้น โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น
เมื่ออกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณอาทิผิด จิตที่เป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น.
อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนวิบาก และ
กิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก
กิริยา ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตอาทิผิด อักขระปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๑] ๓. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่อาจยคามิธรรม
ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
คือ พระเสกขบุคคลทั้งหลายออกจากมรรคแล้ว ย่อมพิจารณามรรค.
บุคคลย่อมรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอปจยคามิธรรม
ด้วยเจโตปริยญาณ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๑๐๙๒] ๔. อปจยคามิธรรม เป็นปัจจัยแก่เนวาจยคามินาปจย-
คามิธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย
 
พระปิฎกธรรม