星期六, 八月 20, 2011

Tang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 35/536/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้แก่ ขด. บทว่า อุชุํ กายํ ปณิธาย ได้แก่ ตั้งสรีระเบื้องบนให้ตรง
ให้ปลายกับปลายกระดูกสันหลัง ๑๘ ข้อจดเรียงกัน เมื่อนั่งอย่างนี้หนังเนื้อ
และเอ็นก็ไม่ค้อม เมื่อเป็นเช่นนั้น เวทนาเหล่าใดอันมีความค้อมเป็นปัจจัย
จึงเกิดขึ้นทุกขณะแก่ภิกษุเหล่านั้น เวทนานั้นก็จะไม่เกิดขึ้น เมื่อเวทนา
เหล่านั้นไม่เกิด จิตก็ย่อมมีอารมณ์เป็นหนึ่ง กรรมฐานก็ไม่ตก มีแต่เจริญ
งอกงาม.
บทว่า ปริมุขํ สติ อุปฏฐเปตฺวา ความว่า ตั้งสติอันมีหน้าเฉพาะ
ต่อกรรมฐาน หรือกระทำไว้ใกล้หน้า. ด้วยเหตุนั้นแล ท่านจึงกล่าวไว้ใน
วิภังค์ว่า สตินี้เป็นอันเข้าไปตั้งอาทิผิด อักขระไว้แล้ว เข้าไปตั้งไว้แล้วด้วยดี ที่ปลายจมูกหรือ
ที่มุขนิมิตใกล้หน้า ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปริมุขํ สติํ อุปฏฐเปตฺวา
(เข้าไปตั้งอาทิผิด อักขระสติไว้เฉพาะหน้า) ดังนี้. อีกนัยหนึ่ง ศัพท์ ปริ มีอรรถว่า กำหนด.
ศัพท์ว่า มุขํ มีอรรถว่า นำออกไป. บทว่า สติ มีอรรถว่า เข้าไปตั้งไว้.
ด้วยเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า ปริมุขํ สติํ ดังนี้ พึงทราบความในบทนี้โดย
นัยที่กล่าวไว้แล้วในปฏิสัมภิทา ด้วยประการฉะนี้. ความย่อในปฏิสัมภิทานั้นว่า
การทำสติอันกำหนดไว้และนำออกไป.
ในบทว่า อภิชฺฌํ โลเก นี้ อุปาทานขันธ์ ๕ ชื่อว่าโลก เพราะ
อรรถว่าชำรุดทรุดโทรมไป. เพราะฉะนั้น พึงเห็นความในบทนี้อย่างนี้ว่า
ละราคะ ข่มกามฉันทะในอุปาทานขันธ์ ๕ ดังนี้ . บทว่า วิคตาภิชฺเฌน
ความว่า มีใจ ชื่อว่าปราศจากอภิชฌา เพราะละได้ด้วยการข่มไว้มิใช่มีใจ
เช่นกับจักขุวิญญาณ. บทว่า อภิชฺฌาย จิตฺตํ ปริโสเธติ ได้แก่ ชำระ
จิตให้หมดจดจากอภิชฌา. อธิบายว่า ภิกษุกระทำโดยประการที่อาทิผิด สระอภิชฌาปล่อย
จิตนั้นแล้วจะไม่กลับมาเกาะจิตอีก. แม้ในบทว่า พฺยาปาทปฺปโทสํ ปหาย
เป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน . ชื่อว่า พยาบาทเพราะเบียดเบียน คือจิต ต้องละ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: