星期日, 八月 14, 2011

Kakkhala

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/256/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โศกเศร้าแก่คนอื่นด้วยการลักทรัพย์เป็นต้น . บทว่า กิลมยโต คือลำบาก
เองก็ดี ทำให้คนอื่นลำบากก็ดี ด้วยการตัดอาหาร และกักขังในเรือนจำเป็นต้น.
บทว่า ผนฺทโต ผนฺทาปยโต คือดิ้นรนเองก็ดี ทำผู้อื่นให้ดิ้นรนก็ดี ใน
เวลามัดคนอื่นซึ่งกำลังดิ้นรน. บทว่า ปาณมติปาตยโต คือ ฆ่าเองก็ดี
ใช้ผู้อื่นฆ่าก็ดี ซึ่งสัตว์มีชีวิต. พึงทราบความในที่ทุกแห่ง โดยการทำเองและ
ใช้ให้คนอื่นทำ โดยนัยที่กล่าวมานี้. บทว่า สนฺธิํ คือ ตัดช่อง (ย่องเบา).
นิลโลปํ คือ ปล้นสดมภ์. บทว่า เอภาคาริกํ คือ ล้อมเรือนหลังเดียว
เท่านั้น ปล้น. บทว่า ปริปนฺเถ ติฏฺฐโต คือ ยืนดักที่หนทางเพื่อชิงทรัพย์
ของคนเดินทาง. บทว่า กโรโต น กริยติ ปาปํ ความว่า บาปของคนที่
แม้กระทำด้วยเข้าใจว่า เราทำบาปอย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อว่าไม่กระทำบาป
ไม่มี ก็สัตว์ทั้งหลายย่อมเข้าใจอย่างนี้ว่า เรากระทำ. บทว่า ขุรปริยนฺเตน
คือ ปลายคม. บทว่า เอกํ มํสขลํ คือ กองเนื้อกองหนึ่ง. บทว่า ปุญฺชํ
เป็นไวพจน์ของคำว่า เอกํ มํสขลํ นั้นแล. บทว่า ตโตนิทานํ แปลว่า
มีเหตุจากการกระทำให้เป็นกองเนื้อกองหนึ่งนั้น. เหล่าคนทางฝั่งใต้เป็นพวก
กักขฬะอาทิผิด อักขระ ทารุณ ท่านหมายเอาคนเหล่านั้น จึงกล่าวว่า หนนฺโต เป็นต้น.
เหล่าคนทางฝั่งเหนือ มีศรัทธา เลื่อมใสนับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา
พระธรรมว่าเป็นของเรา พระสงฆ์ว่าเป็นของเรา ท่านหมายเอาคนเหล่านั้น
จึงกล่าวว่า ททนฺโต เป็นต้น.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยชนฺโต คือกระทำการบูชาใหญ่. บทว่า
ทเมน คือด้วยการฝึกอินทรีย์ คือ อุโบสถกรรม. บทว่า สํยเมน คือ ด้วย
การสำรวมในศีล. บทว่า สจฺจวาเจน คือด้วยกล่าวคำสัตย์. การมา อธิบาย
ว่า ความเป็นไปชื่อว่า อาคม. สมณพราหมณ์บางพวกปฏิเสธการทำบาปและ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: