turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 49/531/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า น โกจิ กญฺจิ หนติ ความว่า บุรุษใด พึงฆ่าบุรุษอื่น
คือ พึงตัดศีรษะของบุรุษอื่น ในข้อนั้น เมื่อว่าโดยปรมัตถ์ ใคร ๆ
ย่อมไม่ฆ่าใคร ๆ ได้ คือ ย่อมเป็นเสมือนผู้ฆ่า เพราะตัดกายของ
สัตว์ทั้งหลาย. เพื่อจะเลี่ยงคำถามว่า การประหารด้วยศัสตรา
เป็นอย่างไร ท่านจึงตอบว่า ใช้ศัสตราเข้าไปในระหว่าง อันเป็น
ช่องกาย ๗ ช่อง, อธิบายว่า สอดศัสตราอาทิผิด อักขระเข้าไป ในระหว่างคือ ในช่อง
อันเป็นช่องของกาย ๗ ช่อง มีปฐวีเป็นต้น เพราะฉะนั้น สัตว์
ทั้งหลาย จึงเป็นเหมือนถูกศัสตรา มีดาบเป็นต้น. สับฟัน แต่แม้กาย
ที่เหลือ ย่อมไม่ขาดไป เพราะมีสภาวะเที่ยง เหมือนมีชีวะ ฉะนั้น.
บทว่า อจฺเฉชฺชาเภชฺโช หิ ชีโว ความว่า ชีพของเหล่าสัตว์นี้
ไม่พึงถูกตัด ไม่พึงถูกทำลายด้วยศัสตราเป็นต้น เพราะมีสภาวะเที่ยง.
บทว่า อฏฺฐํโส คุฬปริมณฺฑโล ความว่า ก็ชีพนั้น บางคราวมี
๘ เหลี่ยม บางคราวกลมเหมือนงบน้ำอ้อย. บทว่า โยชนานํ สตํ ปญฺจ
ความว่า ชีพนั้นถึงภาวะล้วน สูงประมาณได้ ๕๐๐ โยชน์. ด้วย
บทว่า โก ชีวํ เฉตฺตุมรหติ นี้ ท่านกล่าวว่า ใครเล่าควรเพื่อจะ
ตัดชีพอันเที่ยงแท้ คือไม่มีพิการ ด้วยศัสตราเป็นต้น. คือ ชีพนั้น
ใคร ๆ ไม่ควรให้กำเริบ.
บทว่า สุตฺตคุเฬ ได้แก่ หลอดด้าย ที่เขาม้วนทำไว้. บทว่า
ขิตฺเต ได้แก่ ซัดไป ด้วยอำนาจไม่ได้คลายออก. บทว่า นิพฺเพเฐนฺตํ
ปลายติ ความว่า หลอดด้ายอันด้ายคลี่อยู่ ที่เขาซัดไปบนภูเขา
หรือบนต้นไม้ ย่อมกลิ้งไปได้ คือ แต่เมื่อด้ายหมด ก็ไปไม่ได้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/268/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ผู้นี้จักเป็นธรรมทายาทของพระศาสดา
พระองค์นั้น จักเป็นโอรสอันธรรมเนรมิต จัก
มีนามว่ากุมารกัสสปะเป็นสาวกของพระศาสดา
เพราะอำนาจดอกไม้และผ้าอันวิจิตรกับ
รัตนะ เขาจักถึงความเป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย
ผู้กล่าวธรรมกถาอันวิจิตร
เพราะกรรมที่ทำไว้ดีแล้ว และเพราะการ
ตั้งเจตน์จำนงไว้ เราละร่างมนุษย์แล้ว ได้ไป
สวรรค์ดาวดึงส์
เราท่องเที่ยวไปในภพน้อยภพใหญ่
เหมือนตัวละครหมุนเวียนอยู่กลางเวทีเต้นรำ
ฉะนั้น เราเป็นบุตรของเนื้อชื่อสาขะหยั่งลงใน
ครรภ์แห่งแม่เนื้อ
ครั้งนั้น เมื่อเราอยู่ในท้องมารดาของ
เรา ถึงเวรที่จะต้องถูกฆ่า มารดาของเราถูกเนื้อ
สาขะทอดทิ้ง จึงยึดเอาเนื้อนิโครธเป็นที่พึ่ง
มารดาของเราอันพญาเนื้อนิโครธ ช่วย
ให้พ้นจากความตาย สละเนื้อสาขะแล้ว ตัก
เตือนเราผู้เป็นบุตรของตัวในครั้งนั้นอย่างนี้ว่า
ควรคบหาแต่เนื้อนิโครธอาทิผิด เท่านั้น ไม่ควร
เข้าไปคบหาเนื้อสาขะ ตายในสำนักเนื้อนิโครธ
ประเสริฐกว่า มีชีวิตอยู่ในสำนักเนื้อสาขะจะประ-
เสริฐอะไร.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 62/383/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จะเป็นสุภาษิต ก็จักทำอะไรแก่พระองค์ผู้หาความสัตย์
มิได้ ผู้ไม่ประเสริฐ มักตรัสคำเท็จ ผู้หยาบช้า.
[๒๒๔] พระองค์ได้ตรัสสั่งให้ขุดสระชื่อว่าเขมะ
นี้ตามถ้อยคำของพวกพราหมณ์ และพระองค์ตรัสสั่ง
ให้ประกาศอภัยทั่วสิบทิศ หงส์เหล่านั้นจึงได้พากัน
บินลงสู่สระโบกขรณี อันมีน้ำใสสะอาด ในสระโบก-
ขรณีนั้นมีอาหารอย่างเพียงพอและไม่มีการเบียดเบียน
นกทั้งหลายเลย พวกข้าพระองค์ได้ยินคำประกาศนี้
แล้ว จึงพากันบินมาในสระของพระองค์ พวกข้า-
พระองค์นั้น ๆ ก็ถูกบ่วงรัดไว้ นี่เป็นคำตรัสเท็จของ
พระองค์ บุคคลกระทำมุสาวาท และความโลภคือ
ความอยากได้ อันลามกเป็นเบื้องหน้าแล้ว ก้าวล่วง
ปฏิสนธิในเทวโลกและมนุษยโลกทั้งสอง ย่อมเข้าถึง
นรกอันไม่เพลิดเพลิน.
[๒๒๕] ดูก่อนสุมุขหงส์ เรามิได้ทำผิด ทั้งมิ
ได้จับท่านมาด้วยความโลภอาทิผิด อักขระ ก็เราได้สดับมาว่า ท่าน
ทั้งหลายเป็นบัณฑิตเป็นผู้ละเอียดและคิดข้ออรรถ ทำ
ไฉนท่านทั้งหลายจึงจะมากล่าววาจาอันอาศัยอรรถใน
ที่นี้ ดูก่อนสุมุขหงส์ผู้สหาย นายพรานผู้นี้เราส่งไป
จึงไปจับเอาท่านมาด้วยความประสงค์นั้น.
[๒๒๖] ข้าแต่พระจอมแห่งชนชาวกาสี เมื่อ
ชีวิตน้อมเข้าไปใกล้ความตายแล้ว ข้าพระองค์ทั้งหลาย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 57/523/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้ยินว่า ข้อที่ภิกษุนั้นเป็นผู้หลอกลวงได้ปรากฏในหมู่
ภิกษุ. ภิกษุทั้งหลายประชุมสนทนากันในโรงธรรมว่า ดูก่อน
อาวุโสทั้งหลาย ภิกษุโน้นบวชในพระพุทธศาสนาอันเป็นที่นำ
สัตว์ออกจากภพ ยังบำเพ็ญวัตรของผู้หลอกลวงอีก. พระศาสดา
เสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอนั่งสนทนา
กันด้วยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้นมิใช่เป็นผู้หลอกลวง
แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้เมื่อก่อนก็เคยเป็นผู้หลอกลวงเหมือนกัน
เกิดเป็นลิงได้ทำการหลอกลวงเพราะเหตุเพียงไฟเท่านั้น แล้ว
ทรงนำเรื่องอดีตมาตรัสเล่า.
ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในกรุง-
พาราณสี พระโพธิอาทิผิด สระสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในแคว้นกาสี ครั้น
เจริญวัย ในเวลาที่บุตรเที่ยววิ่งเล่นได้ นางพราหมณีก็ถึงแก่
กรรม จึงอุ้มบุตรเข้าสะเอวไปป่าหิมพานต์บวชเป็นฤๅษี บวชบุตร
เป็นดาบสกุมาร อาศัยอยู่ในบรรณศาลา. ครั้นฤดูฝน ฝนตก
ไม่ขาดสาย มีลิงตัวหนึ่งถูกความหนาวเบียดเบียน เที่ยวเดิน
ตัวสั่นฟันกระทบกัน. พระโพธิสัตว์หาท่อนไม้ใหญ่ ๆ มาก่อไฟ
แล้วนอนบนเตียง. ฝ่ายบุตรชายก็นั่งนวดเท้าอยู่. ลิงนั้นนุ่งห่ม
ผ้าเปลือกไม้ของดาบสที่ตายไปแล้วรูปหนึ่ง ห่มหนังเสือเฉวียงบ่า
ถือหาบและน้ำเต้าปลอมเป็นฤๅษี มายืนหลอกลวงอยู่ที่ประตู
บรรณศาลา เพราะต้องการไฟ. ดาบสกุมารเห็นลิงนั้น จึง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/567/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เราตามรักษาสัจวาจา สละชีวิตของเรา
ให้โปริสาทปลดปล่อยกษัตริย์ ๑๐๑. นี้เป็น
สัจบารมีของเรา.
ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว.
บทว่า เมตฺตาย ปารมิํ คนฺตฺวา ความว่า เราถึงเมตตาบารมีอัน
มีลักษณะนำสิ่งเป็นประโยชน์ในสรรพสัตว์โดยไม่เจาะจง อันเป็นบารมีชั้น
อุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระโพธิอาทิผิด สระสัตว์ ที่
บำเพ็ญเมตตาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นจูฬธรรมปาละ ใน
กาลเป็นมหาสีลวราช. ในกาลเป็นสามบัณฑิต. อนึ่ง เมตตาบารมีของพระ-
โพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นสุวรรณสาม แผ่เมตตาไม่เหลียวแลแม้ชีวิตอย่างนี้
ว่า :-
ใคร ๆ ไม่สะดุ้งหวาดกลัวเรา แม้เราก็
ไม่กลัวใคร ๆ. อันกำลังแห่งเมตตาอุปถัมภ์ไว้
เราจึงยินดีในป่าใหญ่ ในกาลนั้น.
ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว.
บทว่า สมฺมานนาวมานเน ความว่า เรามีจิตเสมอไม่ผิดปกติ ใน
การนับถือด้วยการบูชาสักการะเป็นต้น โดยเคารพ ในการดูหมิ่นด้วยการ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 46/434/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ตรัสคาถาที่บรรจุไตรสิกขานี้ว่า สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมแล้ว
ด้วยศีลทุกเมื่อ.
ก็ในคาถานี้ สิกขา ๓ คือ อธิสีลอาทิผิด อักขระสิกขา ด้วยสีลสัมปทา อธิจิตตสิกขา
ด้วยสติและสมาธิ อธิปัญญาสิกขา ด้วยปัญญา คือ การคิดถึงธรรมภายใน
ท่านกล่าวว่า มีอุปการะและมีอานิสงส์ จริงอยู่ สิกขาทั้งหลาย มีโลกิยปัญญา
และสติเป็นอุปการะ มีสามัญผลเป็นอานิสงส์.
ครั้นทรงแสดงเสกขภูมิ ด้วยคาถาที่หนึ่งอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะ
ทรงแสดงอเสกขภูมิ จึงตรัสคาถาที่สอง.
คาถานั้นมีเนื้อความว่า บทว่า วิรโต กามสญฺญาย ความว่าผู้เว้น
จากกามสัญญาบางอย่าง ด้วยสมุจเฉทวิรัติ อันสัมปยุตด้วยมรรคที่ ๔ โดย
ประการทั้งปวง บาลีว่า วิรตฺโต ดังนี้ก็มี. ในกาลนั้น คำว่า กามสญฺญาย
เป็นสัตตมีวิภัตติ แต่ในสคาถวรรค บาลีว่า กามสญฺญาสุ ดังนี้ก็มี. ชื่อว่า
ล่วงสังโยชน์ทั้งปวงเสีย เพราะล่วงสังโยชน์ ๑๐ ด้วยมรรคแม้ทั้งสี่ หรือ ล่วง
สังโยชน์เบื้องสูง ด้วยมรรคที่สี่เท่านั้น ชื่อว่า มีความเพลิดเพลินและภพหมด
สิ้นแล้ว เพราะความที่ความเพลิดเพลิน กล่าวคือ ตัณหาพาให้เพลิดเพลินใน
สิ่งนั้น ๆ และภพ ๓ หมดสิ้นแล้ว.
บทว่า โส ได้แก่ ภิกษุผู้ขีณาสพเช่นนั้น ย่อมไม่จมลง ในอรรณพ
คือ สังสารวัฏอันลึก เข้าถึงผลแห่งนิพพานธาตุอันมีเบญจขันธ์เหลือ เพราะ
สิ้นความเพลิดเพลิน และไม่มีเบญจขันธ์เหลือ เพราะสิ้นภพ.
ลำดับนั้น เหมวตยักษ์แลดูสหายและยักษ์บริษัท เกิดปีติแลโสมนัส
ชมเชยพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยคาถามีอย่างนี้ว่า คมฺภีรปญฺญํ เป็นต้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 45/465/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ผ้าปาวาร ผ้าโกเชาว์ เป็นต้น (ผ้ามีขนอ่อน และผ้าทำด้วยขนแกะ). ก็แม้
อาสนะ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถือเอาแล้ว ด้วยศัพท์ว่า เสยฺย ในคำว่า
เสยฺยาวสถํ นี้. บทว่า อาวสถํ ได้แก่ ที่อาศัย อันเป็นเครื่องบรรเทาอันตราย
มีลมและแดดเป็นต้น. บทว่า ปทีเปยฺยํ ได้แก่เครื่องอุปกรณ์แห่งแสงสว่าง
มีประทีปและตะเกียงเป็นต้น.
บทว่า เอวํ โข ภิกฺขเว ความว่า เมื่อไทยธรรมมีอยู่ บุคคลไม่
ให้ ของที่จะต้องให้อย่างนี้ แก่ปฏิคาหกทั้งหลาย โดยประการทั้งปวง ย่อมเป็น
เช่นกับเมฆที่ไม่ให้ฝนตก. ท่านกล่าวอธิบายไว้ดังนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมฆ
หนา ๑๐๐ ชั้น ๑,๐๐๐ ชั้น ตั้งขึ้นแล้ว ไม่โปรยอะไร ๆ ลงมาเลย จางหายไปฉันใด
คนใดรวบรวมสมบัติอันโอฬาร และไพบูลย์ อยู่ครอบครองเรือนก็ฉันนั้น
เหมือนกัน ไม่ให้ภิกษาแม้ทัพพีเดียว หรือข้าวยาคู เพียงกระบวยเดียวแก่ใคร ๆ
หลีกไปเสีย. หมดอำนาจ ย่อมไปสู่ปากแห่งมัจจุ คนผู้นั้นย่อมชื่อว่าเหมือน
เมฆ ที่ไม่ให้ฝนตกดังนี้. แม้ในบทที่เหลือ พึงทราบพระดำรัส ตรัสย้ำโดย
นัยนี้.
ก็ในบุคคล ๓ จำพวกเหล่านี้ บุคคลพวกแรกพึงถูกตำหนิ โดยส่วน
เดียวเท่านั้น. คนพวกที่สอง น่าสรรเสริญ คนพวกที่สาม น่าสรรเสริญกว่า
(คนพวกที่สอง). อีกนัยหนึ่ง บุคคลอาทิผิด สระพวกแรก พึงทราบว่าเลวกว่าบุคคลทุก
ประเภท พวกที่ ๒ พึงทราบว่า ปานกลาง พวกที่ ๓ พึงทราบว่าสูงสุดดังนี้.
พึงทราบวินิจฉัยในคาถาทั้งหลายดังต่อไปนี้. บทว่า สมเณ เป็น
พหูพจน์ โดยเป็นทุติยาวิภัตติ. แม้ในบทที่เหลือก็เช่นนั้น. บทว่า ลทฺธาน
แปลว่า ได้ (ปฏิคาหก) แล้วปรารถนา สมณะผู้เป็นทักขิไณยบุคคลแล้วถูก
ถามแล้ว ก็ไม่จัดแบ่งให้. บทว่า อนฺนปานญฺจ โภชนํ ความว่า ไม่จัด
แบ่งข้าวหรือน้ำ หรือโภชนะอันควรแก่การบริโภคอย่างอื่น ที่มีอยู่. ก็ในพระ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/354/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อารทฺธํ โข ปน เม พฺราหฺมณ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า
อารทฺธํ โข ปน เม พฺราหฺมณ วีริยํ อโหสิ ความว่า ดูก่อนพราหมณ์
ความเป็นผู้เจริญที่สุดและประเสริฐสุดอันยอดเยี่ยมนี้ เราบรรลุ
ด้วยความเกียจคร้าน ด้วยความมีสติหลงลืม ด้วยกายอันกระสับ-
กระส่าย ด้วยจิตอันฟุ้งซ่าน ก็หามิได้ ก็อนึ่งแล เราได้มีความเพียร
อันปรารภแล้ว เพื่อบรรลุความเป็นผู้เจริญที่สุดและประเสริฐสุด
อันนั้น. เรานั่งที่โพธิมัณฑสถาน ได้ปรารภ ประคองความเพียร
ต่างโดยสัมมัปปธาน ๔ อันเป็นไปไม่ย่อหย่อน. ความเพียรนั้น
ของเรา ได้เป็นความเพียรไม่ย่อหย่อน เพราะได้ปรารภแล้วทีเดียว.
ก็จะมีแต่ความเพียรอย่างเดียวก็หามิได้ แม้สติก็เป็นอันเราเข้าไป
ตั้งไว้โดยมุ่งตรงต่ออารมณ์ และเป็นสติที่ไม่หลงลืม เพราะเป็น
ธรรมชาติเข้าตั้งมั่นแล้ว. บทว่า ปสฺสทฺโธ กาโยอาทิผิด อักขระ อาสรทฺโธ
ความว่า แม้กายของเราก็เป็นสภาพสงบด้วยอำนาจกายปัสสัทธิ
และจิตตปัสสัทธิ. ในความสงบนั้น เหตุที่เมื่อนามกายสงบ แม้
รูปกายก็ชื่อว่าเป็นอันสงบเหมือนกัน ฉะนั้น จึงไม่ตรัสให้แปลกกัน
เลยว่า นามกาโย รูปกาโย นามกาย รูปกาย แต่ตรัสว่า ปสฺสทฺโธ
กาโย กายสงบ. บทว่า อสารทฺโธ ความว่า ก็กายนั้นแลชื่อว่าสงบแท้
อธิบายว่า ปราศจากความกระวนกระวาย เพราะเป็นกายสงบ
เทียวอาทิผิด อาณัติกะ. บทว่า สมาหิตํ จิตฺตํ เอกคฺคํ ความว่า แม้จิต เราก็ตั้งไว้
โดยชอบ คือ ตั้งไว้ด้วยดี เป็นเหมือนแนบแน่น และมีอารมณ์เดียว
คือไม่หวั่นไหว ไม่ดิ้นรน เพราะเป็นจิตตั้งมั่นทีอาทิผิด อาณัติกะเดียว. ด้วยลำดับ
แห่งคำ เพียงเท่านี้ ย่อมเป็นอันตรัสปฏิปทา อันเป็นเบื้องต้นของ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 36/411/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่
ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีปในที่มืดด้วยหวังว่า ผู้มีจักษุเห็น
รูป ฉะนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์นี้ขอถึงพระองค์กับทั้งพระธรรม
และพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ. ขอพระองค์โปรดทรงจำข้าพระองค์ว่า เป็น
อุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้นไป.
จบโทณสูตรที่ ๒
อรรถกถาโทณสูตร
พึงทราบวินิจฉัยโทณสูตรที่ ๒ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า ตฺวํปิ โน แก้เป็น ตฺวมฺปิ นุ แปลว่า แม้ท่านหนอ.
บทว่า ปวตฺตาโร คือ ผู้สอน. บทว่า เยสํ คือ เป็นสมบัติของฤๅษีอาทิผิด สระ
เหล่าใด. บทว่า มนฺตปทํ ได้แก่ มนต์ คือ พระเวทนั่นเอง. บทว่า
คีตํ ได้แก่ พวกโบราณพราหมณ์ ๑๐ คน มีอัฏฐกพราหมณ์เป็นต้นสาธยาย
แล้วด้วยสรภัญญสมบัติ คือ เสียง. บทว่า ปวุตฺตํ ได้แก่ บอกกล่าว
[สอน] แก่คนอื่น. บทว่า สมิหิตํ ได้แก่ รวบรวม คือ ทำให้เป็นกอง
อธิบายว่าตั้งไว้เป็นกลุ่มเป็นก้อน. บทว่า ตทนุคายนฺติ ความว่า บัดนี้พราหมณ์
ทั้งหลายก็ขับสาธยายมนต์ตามที่โบราณพราหมณ์เหล่านั้นขับมาก่อน. บทว่า
ตทนุภาสนฺติ ได้แก่ กล่าวมนต์นั้นตาม. บทนี้เป็นไวพจน์ของบทก่อนนั่นแล.
บทว่า ภาสิตมนุภาสนฺติ ได้แก่ กล่าวตามที่พวกโบราณพราหมณ์เหล่านั้น
กล่าวไว้. บทว่า สชฺฌายิตมนุสชฺฌายนฺติอาทิผิด ได้แก่ สาธยายตามที่พวก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 73/402/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้แก่ กลับใจ. อธิบายว่าอยู่ในนิเวศน์ของพระองค์ เปลี่ยนจิตจากความเป็น
ปุถุชนภายใน ๗ วันเท่านั้น แล้วทรงบรรลุความเป็นพระพุทธเจ้า. บทว่า
เหฏฺฐา แปลว่า เบื้องต่ำ. บทว่า ภวคฺคา ได้แก่ แต่อกนิษฐภพ. บทว่า
ตาย ปริสาย ได้แก่ ท่ามกลางบริษัทนั้น. บทว่า คณนาย น วตฺตพฺโพ
ความว่า เกินที่จะนับจำนวนได้. บทว่า ปฐมาภิสมโย ได้แก่ ธรรมาภิสมัย
ครั้งที่ ๑. บทว่า อหุ ความว่า บริษัทนับจำนวนไม่ได้. ปาฐะว่า ปฐเม
อภิสฺมิํสุเยว ดังนี้ก็มี. ความว่า ชนเหล่าใด ตรัสรู้ ในการแสดงธรรมของ
พระโสภิตพุทธเจ้านั้น ชนเหล่านั้น อันใครๆ กล่าวไม่ได้ด้วยการนับจำนวน.
สมัยต่อมา พระโสภิตพุทธเจ้า ทรงทำยมกปาฏิหาริย์ ณ โคนต้น
จิตตปาฏลี ใกล้ประตูกรุงสุทัสสนะ ประทับนั่งทรงแสดงอภิธรรม เหนือพื้น
บัณฑุกัมพลศิลาอาสน์ ณ โคนต้น ปาริฉัตรในภพดาวดึงส์ อันเป็นภพที่สำเร็จ
ด้วยนพรัตน์และทอง. จบเทศนา เทวดาเก้าหมื่นโกฏิตรัสรู้ธรรม นี้เป็น
อภิสมัยครั้งที่ ๒. ด้วยเหตุนั้นจึงตรัสว่า
เมื่อพระโสภิตพุทธเจ้าทรงแสดงธรรม ต่อจาก
อภิสมัยครั้งที่ ๑ นั้น ณ ที่ประชุมเทวดาทั้งหลาย อภิ-
สมัยครั้งที่ ๒ ก็ได้มีแก่เทวดาเก้าหมื่นโกฏิ.
สมัยต่อมา พระราชกุมารพระนามว่า ชัยเสนะ ในกรุงสุทัสสนะ
ทรงสร้างวิหารประมาณโยชน์หนึ่ง ทรงสร้างพระอาราม ทรงเว้นไว้ระยะต้นไม้ดี
เช่นต้น อโศก ต้นสน จำปา กระถินอาทิผิด พิมาน บุนนาค พิกุลหอม มะม่วง ขนุน
อาสนศาลา มะลิวัน มะม่วงหอม พุดเป็นต้น ทรงมอบถวายแด่ภิกษุสงฆ์มี
พระพุทธเจ้าเป็นประธาน. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำอนุโมทนาทาน ทรง
สรรเสริญการบริจาคทานแล้วทรงแสดงธรรม. ครั้งนั้น ธรรมาภิสมัยได้มีแก่
หมู่สัตว์แสนโกฏิ นี้เป็นอภิสมัยครั้งที่ ๓ ด้วยเหตุนี้ จึงตรัสว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 54/444/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะว่า สติของข้าพเจ้ามั่นคงไม่ว่าในการด่า
และการไหว้ และในสุขและทุกข์ เพราะรู้ว่าสังขต-
สังขารที่ปัจจัยปรุงแต่งเป็นอสุภะไม่งาม ใจข้าพเจ้า
จึงไม่ติดอยู่ในอารมณ์ทั้งปวงเลยทีเดียว
ข้าพเจ้านั้นเป็นสาวิกาของพระสุคต ดำเนินไป
ด้วยยาน คือมรรคอันประกอบด้วยองค์ ๘ ถอนกิเลส
ดุจลูกศรอาทิผิด สระเสียแล้ว ไม่มีอาสวะ ยินดีอยู่แต่ในเรือนว่าง.
รูปเขียน ที่ช่างบรรจงเขียนไว้สวยงาม หรือ
รูปไม้ รูปใบลาน ที่เขาผูกด้วยด้าย และติดไว้ด้วย
ตะปู ทำท่ารำต่าง ๆ ข้าพเจ้าเห็นมาแล้ว เมื่อรูปนั้น
ถูกรื้อออก ปลดด้ายและตะปูออก ก็บกพร่อง [ไม่เป็น
รูป] กระจัดกระจายออกเป็นชิ้น ๆ ก็ไม่พึงได้สภาพ
ที่ชื่อว่ารูป บุคคลจะพึงตั้งใจไว้ในรูปนั้นไปทำไม.
ร่างกายนี้ก็เปรียบด้วยรูปนั้น เว้นจากธรรม
เหล่านั้นเสียก็เป็นไปไม่ได้ แม้ร่างกายเว้นจากธรรม
ทั้งหลาย ก็เป็นไปมิได้ บุคคลจะพึงตั้งใจไว้ในรูป
นั้นไปทำไม.
บุคคลพึงดูรูปจิตรกรรม ที่จิตรกรระบายด้วย
หรดาล ทำไว้ที่ฝาผนัง ในจิตรกรรมนั้น ท่านก็ยังเห็น
วิปริต สัญญาความสำคัญว่ามนุษย์ ไร้ประโยชน์
จริง ๆ.
ดูก่อนคนตาบอด ท่านยังจะเข้าไปใกล้ร่างที่ว่าง
เปล่า เหมือนพยับแดดที่ปรากฏต่อหน้า โดยอาการ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 38/595/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระเถระที่ครูทั้งหลายถวายนามว่า พุทธโฆสะ ผู้ประดับอาทิผิด อักขระ
ด้วยศรัทธาความเชื่อ พุทธิความรู้ วิริยะความเพียรอันหมดจด
ดีอย่างยิ่ง ผู้ก่อกำเนิดคุณสมุทัย คือ ศีลอาจาระและความ
ซื่อตรงความอ่อนโยนและความคงที่ ผู้สามารถในอันสะสาง
ชัฏ คือลัทธิของตนและลัทธิของผู้อื่น ผู้ประกอบด้วยความ
รู้และความฉลาด ผู้มีประภาพ คือญาณอันไม่ติดขัดในสัตถุ-
ศาสน์ พร้อมทั้งอรรถกถาที่ต่างโดยไตรปิฎกปริยัติ ผู้ทรงไวยา-
กรณ์ใหญ่ ผู้ประกอบด้วยคุณ คือมีถ้อยคำอันไพเราะโอฬาร
ถูกต้องตามฐานกรณ์ รื่นปาก รื่นหู ผู้มีวาทะถูกต้องแตกฉาน
เป็นมหากวีผู้มีสำนวนอันไพเราะ เป็นอลังการของวงศ์ แห่ง
พระเถระผู้อยู่ในมหาวิหาร ผู้เป็นประทีปแห่งเถรวงศ์ ซึ่งมี
ความรู้อันตั้งมั่นดีแล้วในธรรมอันยิ่งของมนุษย์ อันประดับด้วย
คุณต่างโดยอภิญญาเป็นต้น อันเป็นบริวารแห่งปฏิสัมภิทาที่
แตกฉานแล้ว ผู้มีความรู้อันไพบูลย์บริสุทธิ์ดี แต่งอรรถกถา-
อังคุตตรนิกาย ชื่อมโนรถปูรณีคัมภีร์นี้.
ขอคัมภีร์อรรถกถานี้แสดงนัย เพื่อความหมดจดแห่งจิต
ของเหล่ากุลบุตรผู้ปรารถนาจะช่วยโลก จงดำรงอยู่ในโลก
ตราบเท่าที่พระนามว่า พุทโธ ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้มีจิต
บริสุทธิ์ ผู้คงที่ ผู้ประเสริฐสุดในโลก ผู้แสวงหาพระคุณ
อันใหญ่ ยังคงเป็นไปอยู่ในโลกแล.
จบอรรถกถาอังคุตตรนิกาย
ชื่อมโนรถปูรณี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/598/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติสิกขาบท
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งให้ประชุมภิกษุสงฆ์ ในเพราะ
เหตุเป็นเค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามท่านพระ-
ฉันนะว่า ดูก่อนฉันนะ ข่าวว่า เธออันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูกทาง
ธรรม ได้ทำตนให้เป็นผู้อันใคร ๆ ว่ากล่าวไม่ได้จริงหรือ.
พระฉันนะทูลรับว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ การกระทำ
ของเธอนั่น ไม่เหมาะ ไม่สม ไม่ควร ไม่ใช่กิจของสมณะ ใช้ไม่ได้
ไม่ควรทำ ดูก่อนโมฆบุรุษ ไฉนเธออันภิกษุทั้งหลายว่ากล่าวอยู่ถูก
ทางธรรม จึงทำตนให้เป็นผู้อันใครๆ ว่ากล่าวไม่ได้ ดูก่อนโมฆบุรุษ
การกระทำของเธอนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่
เลื่อมใส หรือเพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว โดย
ที่แท้ การกระทำของเธอนั่น เป็นไปเพื่อความไม่เลื่อมใสของชุมชน
ที่ยังไม่เลื่อมใส และเพื่อความเป็นอย่างอื่นอาทิผิด สระของชนบางพวกที่เลื่อมใส
แล้ว
ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระฉันนะโดยอเนกปริยาย
ดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก
ความเป็นคนมักมาก ความเป็นคนไม่สันโดษ ความคลุกคลี ความ
เกียจคร้าน ตรัสคุณแห่งความเป็นคนเลี้ยงง่าย ความเป็นคนบำรุงง่าย
ความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความกำจัด อาการที่น่า
เลื่อมใส การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย แล้ว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/483/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สันถารอาทิผิด อักขระวรรคที่ ๔
สูตรที่ ๑
[๓๙๖] ๑๕๐. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สันถาร ๒ อย่างนี้ ๒ อย่าง
เป็นไฉน คือ อามิสสันถาร ๑ ธรรมสันถาร ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
สันถาร ๒ อย่างนี้แล ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรดาสันถาร ๒ อย่างนี้
ธรรมสันถารเป็นเลิศ.
จบสูตรที่ ๑
สูตรที่ ๒
[๓๙๗] ๑๕๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปฏิสันถาร ๒ อย่างนี้
๒ อย่างเป็นไฉน คือ อามิสปฏิสันถาร ๑ ธรรมปฏิสันถาร ๑ ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ปฏิสันถาร ๒ อย่างนี้แล ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรดา
ปฏิสันถาร ๒ อย่างนี้ ธรรมปฏิสันถารเป็นเลิศ.
จบสูตรที่ ๒
สูตรที่ ๓
[๓๙๘] ๑๕๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เอสนา ๒ อย่างนี้ ๒ อย่าง
เป็นไฉน คือ อามิสเอสนา การเสาะหาอามิส ๑ ธรรมเอสนา การเสาะหา
ธรรม ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เอสนา ๒ อย่างนี้แล ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
บรรดาเอสนา ๒ อย่างนี้ ธรรมเอสนาเป็นเลิศ.
จบสูตรที่ ๓
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 67/409/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ต่าง ๆ หนา. เพราะยินดี อยาก กำหนัด สยบ ถึงทับ ติด คล้อง
ผูกพันในกามคุณ ๕ หนา. เพราะร้อยรัด ครอบงำ ถูกต้อง ปิด ปกปิด
ครอบไว้ด้วยนิวรณ์ ๕ หนา. เพราะเป็นผู้ล่วงเลยคลองธรรม หันหลัง
ให้อริยธรรม ประพฤติธรรมต่ำ หยั่งลงในภายในหนา. อีกอย่างหนึ่ง
ชื่อว่าปุถุชน เพราะชนนี้ผู้ถึงการนับแยกกัน ไม่ปะปนกับพระอริยบุคคล
ผู้ประกอบด้วยคุณมีศีลและสุตะเป็นต้นหนา. ด้วยบทสองบทนี้อย่างนี้ว่า
อสฺสุตวา ปุถุชฺชโน ท่านกล่าวถึงปุถุชนสองจำพวกว่า
พระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย ์ ตรัสถึงปุถุชน
สองจำพวก คืออันธปุถุชนพวกหนึ่ง กัลยาณปุถุชนอาทิผิด อักขระพวก
หนึ่ง.
ในปุถุชนสองจำพวกนั้น พึงทราบว่า ท่านกล่าวถึงอันธปุถุชน
(ปุถุชนบอด).
พึงทราบความในบทมีอาทิว่า จริยานํ อทสฺสาวี ไม่ได้เห็นพระ-
อริยเจ้าดังนี้ต่อไป. พระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระสาวกของ
พระพุทธเจ้า ท่านเรียกว่าพระอริยะ เพราะไกลจากกิเลส, เพราะไม่นำ
ไปในทางเสื่อม, เพราะนำไปในทางเจริญ, เพราะเป็นผู้ทำให้โลก
พร้อมทั้งเทวโลกสงบ. ในที่นี้ พระพุทธเจ้าเท่านั้นเป็นพระอริยะ. ดังที่
พระองค์ตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคต บัณฑิตกล่าวว่าเป็น
อริยะในโลกพร้อมทั้งเทวโลก. ในบทว่า สปฺปุริสา นี้ พึงทราบว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้า และสาวกของพระตถาคต เป็นสัปบุรุษ. เพราะ
ท่านเหล่านั้นเป็นบุรุษผู้งามด้วยการประกอบโลกุตรคุณ จึงชื่อว่าสัปบุรุษ.
อีกอย่างหนึ่ง ท่านเหล่านั้นทั้งหมดท่านกล่าวไว้โดยส่วนสอง. แม้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 48/636/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
หายโศกเศร้าเพราะถ้อยคำของมาณพนั้น เมื่อจะชมเชยมาณพ จึงกล่าว
คาถาเหล่านี้ว่า
เจ้ามารดอาทิผิด สระข้าผู้เร่าร้อนให้สงบ ดับความกระวน
กระวายทั้งหมดได้ เหมือนเอาน้ำรดไฟที่ราดเปรียง
ฉะนั้น เจ้าผู้ที่บรรเทาความโศกเศร้าถึงบุตรของข้าผู้
เฝ้าแต่เศร้าโศก ชื่อว่าได้ถอนลูกศรคือความโศกที่
เกาะหัวใจของข้าขึ้นได้แล้ว พ่อมาณพ ข้าเป็นผู้ที่
เจ้าถอนลูกศร คือความโศกขึ้นได้แล้ว ก็เป็นผู้ดับ
ร้อน เย็นสนิท ไม่ต้องเศร้าโศก ไม่ต้องร้องให้
เพราะฟังเจ้า ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รถปญฺชโร ได้แก่ ตัวรถ. บทว่า
น วินฺทามิ แปลว่า ย่อมไม่ได้. บทว่า ภทฺทมาณว เป็นคำร้องเรียก.
บทว่า ปฏิปาทยามิ แปลว่า จะจัดให้ ประสงค์อาทิผิด ความว่า ท่านอย่าสละ
ชีวิตเพราะไม่มีคู่ล้อ. บทว่า อุภเยตฺถ ทิสฺสเร ความว่า พระจันทร์
และพระอาทิตย์ แม้ทั้งสอง ยังเห็นกันได้ในท้องฟ้านี้ ย อักษรทำหน้าที่
เชื่อมบท อีกอย่างหนึ่ง แยกบทเป็น อุภเย เอตฺถ.
บทว่า คมนาคมนํ ความว่า การไปและการมาของพระจันทร์และ
พระอาทิตย์ ยังเห็นกันได้ โดยลงและขึ้นทุก ๆ วัน บาลีว่า คมโนคมนํ
ก็มี ความว่าขึ้นและลง. บทว่า วณฺณธาตุ ได้แก่ แสงสว่างของวรรณะ
ที่เหลือแต่ความเย็น เป็นแสงสว่างน่ารัก [ พระจันทร์ ] ที่เหลือแต่ความ
ร้อน เป็นแสงสว่างที่กล้า [ พระอาทิตย์ ]. บทว่า อุภยตฺถ พึงประกอบ
พระปิฎกธรรม