星期六, 十月 22, 2011

Sin

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 46/434/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ตรัสคาถาที่บรรจุไตรสิกขานี้ว่า สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมแล้ว
ด้วยศีลทุกเมื่อ.
ก็ในคาถานี้ สิกขา ๓ คือ อธิสีลอาทิผิด อักขระสิกขา ด้วยสีลสัมปทา อธิจิตตสิกขา
ด้วยสติและสมาธิ อธิปัญญาสิกขา ด้วยปัญญา คือ การคิดถึงธรรมภายใน
ท่านกล่าวว่า มีอุปการะและมีอานิสงส์ จริงอยู่ สิกขาทั้งหลาย มีโลกิยปัญญา
และสติเป็นอุปการะ มีสามัญผลเป็นอานิสงส์.
ครั้นทรงแสดงเสกขภูมิ ด้วยคาถาที่หนึ่งอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะ
ทรงแสดงอเสกขภูมิ จึงตรัสคาถาที่สอง.
คาถานั้นมีเนื้อความว่า บทว่า วิรโต กามสญฺญาย ความว่าผู้เว้น
จากกามสัญญาบางอย่าง ด้วยสมุจเฉทวิรัติ อันสัมปยุตด้วยมรรคที่ ๔ โดย
ประการทั้งปวง บาลีว่า วิรตฺโต ดังนี้ก็มี. ในกาลนั้น คำว่า กามสญฺญาย
เป็นสัตตมีวิภัตติ แต่ในสคาถวรรค บาลีว่า กามสญฺญาสุ ดังนี้ก็มี. ชื่อว่า
ล่วงสังโยชน์ทั้งปวงเสีย เพราะล่วงสังโยชน์ ๑๐ ด้วยมรรคแม้ทั้งสี่ หรือ ล่วง
สังโยชน์เบื้องสูง ด้วยมรรคที่สี่เท่านั้น ชื่อว่า มีความเพลิดเพลินและภพหมด
สิ้นแล้ว เพราะความที่ความเพลิดเพลิน กล่าวคือ ตัณหาพาให้เพลิดเพลินใน
สิ่งนั้น ๆ และภพ ๓ หมดสิ้นแล้ว.
บทว่า โส ได้แก่ ภิกษุผู้ขีณาสพเช่นนั้น ย่อมไม่จมลง ในอรรณพ
คือ สังสารวัฏอันลึก เข้าถึงผลแห่งนิพพานธาตุอันมีเบญจขันธ์เหลือ เพราะ
สิ้นความเพลิดเพลิน และไม่มีเบญจขันธ์เหลือ เพราะสิ้นภพ.
ลำดับนั้น เหมวตยักษ์แลดูสหายและยักษ์บริษัท เกิดปีติแลโสมนัส
ชมเชยพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยคาถามีอย่างนี้ว่า คมฺภีรปญฺญํ เป็นต้น
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: