Sattra
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 49/531/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า น โกจิ กญฺจิ หนติ ความว่า บุรุษใด พึงฆ่าบุรุษอื่น
คือ พึงตัดศีรษะของบุรุษอื่น ในข้อนั้น เมื่อว่าโดยปรมัตถ์ ใคร ๆ
ย่อมไม่ฆ่าใคร ๆ ได้ คือ ย่อมเป็นเสมือนผู้ฆ่า เพราะตัดกายของ
สัตว์ทั้งหลาย. เพื่อจะเลี่ยงคำถามว่า การประหารด้วยศัสตรา
เป็นอย่างไร ท่านจึงตอบว่า ใช้ศัสตราเข้าไปในระหว่าง อันเป็น
ช่องกาย ๗ ช่อง, อธิบายว่า สอดศัสตราอาทิผิด อักขระเข้าไป ในระหว่างคือ ในช่อง
อันเป็นช่องของกาย ๗ ช่อง มีปฐวีเป็นต้น เพราะฉะนั้น สัตว์
ทั้งหลาย จึงเป็นเหมือนถูกศัสตรา มีดาบเป็นต้น. สับฟัน แต่แม้กาย
ที่เหลือ ย่อมไม่ขาดไป เพราะมีสภาวะเที่ยง เหมือนมีชีวะ ฉะนั้น.
บทว่า อจฺเฉชฺชาเภชฺโช หิ ชีโว ความว่า ชีพของเหล่าสัตว์นี้
ไม่พึงถูกตัด ไม่พึงถูกทำลายด้วยศัสตราเป็นต้น เพราะมีสภาวะเที่ยง.
บทว่า อฏฺฐํโส คุฬปริมณฺฑโล ความว่า ก็ชีพนั้น บางคราวมี
๘ เหลี่ยม บางคราวกลมเหมือนงบน้ำอ้อย. บทว่า โยชนานํ สตํ ปญฺจ
ความว่า ชีพนั้นถึงภาวะล้วน สูงประมาณได้ ๕๐๐ โยชน์. ด้วย
บทว่า โก ชีวํ เฉตฺตุมรหติ นี้ ท่านกล่าวว่า ใครเล่าควรเพื่อจะ
ตัดชีพอันเที่ยงแท้ คือไม่มีพิการ ด้วยศัสตราเป็นต้น. คือ ชีพนั้น
ใคร ๆ ไม่ควรให้กำเริบ.
บทว่า สุตฺตคุเฬ ได้แก่ หลอดด้าย ที่เขาม้วนทำไว้. บทว่า
ขิตฺเต ได้แก่ ซัดไป ด้วยอำนาจไม่ได้คลายออก. บทว่า นิพฺเพเฐนฺตํ
ปลายติ ความว่า หลอดด้ายอันด้ายคลี่อยู่ ที่เขาซัดไปบนภูเขา
หรือบนต้นไม้ ย่อมกลิ้งไปได้ คือ แต่เมื่อด้ายหมด ก็ไปไม่ได้.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论