星期五, 三月 16, 2012

Kharuehat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 12/179/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาโปฏฐปาทสูตร
เอวมฺเม สุตํ ฯเปฯ สาวตฺถิยนฺติอาทิผิด โปฏฺฐปาทสุตฺตํ
ในโปฏฐปาทสูตรนั้น มีคำพรรณนาตามลำดับบทดังต่อไปนี้. บทว่า
สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม ความว่า ประทับอยู่ ณ
พระเชตวันอารามที่ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี. ให้สร้างในสวนของกุมารพระ-
นามว่า เชต ใกล้กรุงสาวัตถี.
บทว่า โปฏฺฐปาโท ปริพฺพาชโก ความว่า ฉันนปริพาชก ชื่อ
โปฏฐปาทะ. ได้ยินว่าในกาลเป็นคฤหัสถ์อาทิผิด อักขระเขาเป็นพราหมณ์มหาศาล เห็นโทษ
ในกามทั้งหลายแล้ว ละกองโภคทรัพย์จำนวนสี่สิบโกฏิ บวชเป็นคณาจารย์
ของเดียรถีย์ทั้งหลาย.
พราหมณ์และบรรพชิตทั้งหลายย่อมโต้ตอบลัทธิในสถานที่นั่น เพราะ
ฉะนั้น สถานที่นั้นจึงชื่อว่า สมยปฺปวาทกํ สถานที่สำหรับโต้ตอบลัทธิ นัยว่า
พราหมณ์ทั้งหลายมีจังกีพราหมณ์ตารุกขพราหมณ์ และโปกขรสาติพราหมณ์
เป็นต้น และบรรพชิตทั้งหลายมีนิคัณฐปริพาชก และ อเจลกปริพาชกเป็น
ต้น ประชุมกันในสถานที่นั้นแล้ว โต้ตอบ กล่าวแสดงลัทธิของตนๆ ในสถาน
ที่นั้น เพราะฉะนั้น อารามนั้น จึงเรียกว่า สมยปฺปวาทโก. อารามนั้นเทียว
ชื่อว่า แถวป่าไม้มะพลับ เพราะเป็นอารามที่แนวต้นมะพลับคือแถวต้น
มะพลับล้อมรอบ. ก็เพราะในอารามนั้นในชั้นแรก มีศาลาเพียงหลังเดียวเท่า
นั้น ภายหลังชนทั้งหลายอาศัยปริพาชกผู้มีบุญมากสร้างศาลาหลายหลัง เพราะ
ฉะนั้นอารามนั้น จึงเรียกว่า เอกสาลโก ด้วยอำนาจแห่งชื่อที่ได้มา เพราะ
อาศัยศาลาหลังเดียวนั้นเอง. ก็อารามนั้นสมบูรณ์ด้วยดอกและผล เป็นสวน
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: