Kharuehat
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 45/456/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ว่าโดยกรรม การงดเว้นจากมุสาวาทเป็นวจีกรรม (ส่วน) ที่เหลือเป็น
กายกรรม. ว่าโดยสมาทาน ผู้ไม่ได้รับการสมาทานนั้นในสำนักของผู้อื่นที่เป็น
ครุฏฐานิยบุคคล สมาทานศีล ๕ ด้วยตนเองเป็นเอกัชฌสมาทาน หรือเป็น
ปัจเจกสมาทาน ก็ย่อมเป็นอันสมาทานแล้ว. ว่าโดยการขาด สำหรับคฤหัสถ์
ทั้งหลาย สิกขาบทใดที่ล่วงเกินแล้ว จะขาดเฉพาะสิกขาบทนั้น ๆ เท่านั้น
นอกนี้ไม่ขาด. เพราะเหตุไร ? เพราะคฤหัสถ์อาทิผิด ทั้งหลายมีศีล ไม่เกี่ยวเนื่องกัน
(เป็นปัจเจกสมาทาน) รักษาเฉพาะสิกขาบทที่สามารถรักษาได้เท่านั้น. ส่วน
สำหรับบรรพชิต เมื่อล่วงละเมิดสิกขาบทเดียว ก็ขาดทั้งหมด.
พึงทราบวินิจฉัยในบทว่า ผลโต ดังต่อไปนี้ กับบรรดา เวรมณี
เหล่านี้ ปาณาติปาตาเวรมณี มีผลมีอาทิอย่างนี้คือ องฺคปจฺจงฺคสมนฺ-
นาคตา (ความเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยอวัยวะน้อยใหญ่) ๑ อาโรหปริณาทสมฺ-
ปตฺติ (ความถึงพร้อมด้วยส่วนสูงและส่วนกว้าง) ๑ ชวนสมฺปตฺติ (ความถึง
พร้อมด้วยเชาว์ไวไหวพริบ) ๑ สุปติฏฺฐิตปาทตา (ความเป็นผู้มีเท้าตั้งอยู่
เหมาะสม) ๑ จารุตา (ความสวยงาม) ๑ มุทุตา (ความเป็นผู้อ่อนโยน) ๑
สุจิตา (ความสะอาด) ๑ สูรตา (ความกล้าหาญ) ๑ มหาพลตา (ความเป็น-
ผู้มีกำลังมาก) ๑ วิสฏฺฐวจนตา (ความเป็นผู้มีถ้อยคำสละสลวย) ๑ สตฺตานํ
ปิยุมนาปตา (ความเป็นผู้น่ารัก น่าพอใจ ของสัตว์ทั้งหลาย) ๑ อภิชฺช-
ปริสตา (ความเป็นผู้มีบริษัทไม่แตกแยกกัน) ๑ อฉมฺภิตา (ความเป็นผู้ไม่-
สะดุ้งหวาดเสียว) ๑ ทุปฺปธํสิยตา (ความเป็นผู้อันใคร ๆ กำจัดได้ยาก) ๑
ปรูปกฺกเมน อมรณตา (ความเป็นผู้ไม่ตายด้วยอาทิผิด การปองร้ายของผู้อื่น) ๑
มหาปริวารตา (ความเป็นผู้มีบริวารมาก) ๑ สุวณฺณตา (ความเป็นผู้มีผิว-
ดังทอง) ๑ สุสณฺฐานตา (ความเป็นผู้มีทรวดทรงงาม) ๑ อปฺปาพาธตา
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论