Phiang
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/558/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แลย่อมควรประดับดอกฟักทิพย์.
คำที่เป็นคาถานั้นมีอธิบายว่า :- บุคคลใดไม่ลักแม้แต่เส้นหญ้า
อันเป็นของของคนอื่น และแม้จะเสียชีวิตก็ไม่กล่าวมุสาวาทด้วยวาจา.
คำนี้ เป็นเพียงอาทิผิด อักขระหัวข้อเทศนาเท่านั้น. ในคำนี้มีอธิบายนี้ว่า ก็บุคคล
ใดไม่กระทำอกุศลกรรมบถทั้ง ๑๐ ด้วยกายทวาร วจีทวาร และมโน-
ทวาร. บทว่า ยโส ลทฺธา ความว่า บุคคลใดได้แม้ความเป็นใหญ่
แล้ว ไม่มั่วเมาในความเป็นใหญ่ปล่อยให้สติกระทำกรรมอันลามก
บุคคลผู้ประกอบด้วยคุณเหล่านี้เห็นปานนั้นนั่นแล ย่อมควรซึ่งดอกไม้
ทิพย์นี้ เพราะฉะนั้น บุคคลใดประกอบด้วยคุณเหล่านี้. บุคคลนั้น
ย่อมควรขอดอกไม้เหล่านี้ พวกเราจักให้แก่บุคคลนั้น.
ปุโรหิตได้ฟังดังนั้นจึงคิดว่า เราไม่มีคุณเหล่านี้แม้แต่อย่างเดียว
แต่เราจักกล่าวมุสาวาทรับเอาดอกไม้เหล่านี้มาประดับ เมื่อเป็นอย่างนี้
มหาชนจักรู้เราว่า ผู้นี้สมบูรณ์ด้วยคุณสมบัติ. ปุโรหิตนั้นจึงกล่าวว่า
เราเป็นผู้ประกอบด้วยคุณเหล่านี้ จึงให้นำดอกไม้เหล่านั้นมาอาทิผิด อักขระประดับ
แล้วได้อ้อนวอนขอกะเทวบุตรองค์ที่ ๒ เทวบุตรองค์ที่ ๒ นั้น จึง
กล่าวคาถาที่ ๒ ว่า :-
ผู้ใดแสวงหาทรัพย์มาได้โดยชอบธรรม
ไม่ล่อลวงเอาทรัพย์เขามา ได้โภคทรัพย์แล้ว
ไม่มัวเมา ผู้นั้นแลย่อมควรประดับดอกฟัก-
ทิพย์.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论