turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
星期四, 五月 31, 2012
星期三, 五月 30, 2012
Wibak
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/677/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期二, 五月 29, 2012
Tham
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/31/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期五, 五月 25, 2012
Lao Nan
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 69/40/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期四, 五月 24, 2012
Chueng
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 52/442/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期三, 五月 23, 2012
Songkhram
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/37/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期二, 五月 22, 2012
Thut
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 56/541/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期日, 五月 20, 2012
Akasananchayatana
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/408/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期六, 五月 19, 2012
Winyananchayatana
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 65/192/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เที่ยวอยู่ เปลี่ยนอิริยาบถ ประพฤติ รักษา เป็นไป ให้เป็นไป นี้ชื่อว่า
กายวิเวก.
จิตตวิเวกเป็นไฉน ? ภิกษุผู้บรรลุปฐมฌาณ มีจิตสงัดจากนิวรณ์.
บรรลุทุติยฌาน มีจิตสงัดจากวิตกวิจาร. บรรลุตติยฌาน มีจิตสงัดจาก
ปีติ, บรรลุจตุตถฌาน มีจิตสงัดจากสุขและทุกข์.
บรรลุอากาสานัญจายตนฌาน มีจิตสงัดจากรูปสัญญา ปฏิฆสัญญา
นานัตตสัญญา.
บรรลุวิญญา
บรรลุอากิญจัญญายตนฌาน มีจิตสงัดจากวิญญาณัญจายตนสัญญา
บรรลุเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน มีจิตสงัดจากอากิญจัญญายตน-
สัญญา.
เมื่อภิกษุนั้นเป็น โสดาบันบุคคล มีจิตสงัดจากสักกายทิฏฐิ วิจิ-
กิจฉา สีลัพพตปรามาส ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย และจากกิเลสที่ตั้งอยู่
ในเหล่าเดียวกันกับสักกายทิฏฐิเป็นต้นนั้น.
เป็นสกทาคามีบุคคล มีจิตสงัดจากกามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์
อย่างหยาบ กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย อย่างหยาบ และจากกิเลสที่ตั้งอยู่
ในเหล่าเดียวกันกับกามราคสังโยชน์อย่างหยาบเป็นต้นนั้น.
เป็นอนาคามีบุคคล มีจิตสงัดจากกามราคสังโยชน์ ปฏิฆสังโยชน์
อย่างละเอียด กามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย อย่างละเอียด และจากกิเลสที่ตั้ง
อยู่ในเหล่าเดียวกันกับกามราคสังโยชน์อย่างละเอียดเป็นต้นนั้น.
พระปิฎกธรรม
星期二, 五月 15, 2012
Sayamphu
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 71/608/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ว่าด้วยผลแห่งการบูชาด้วยดอกอโศก
[๑๙๖] ในกาลนั้น มีพระราชอุทยานอยู่ในพระนครติปุระอัน
น่ารื่นรมย์ เราเป็นคนรักษาพระราชอุทยานอยู่ในนครนั้น เป็น
คนรับใช้ของพระราชา.
พระ
หลักแหลม พระฉายไม่ละพระองค์ผู้เป็นมุนี ซึ่งประทับนั่ง
บนดอกบัวขาว.
เราเห็นอโศกมีดอกบานเป็นกลุ่มๆ (พวงช่อ) น่าดูนัก จึง
(หัก) บูชาแด่พระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมผู้อุดม.
ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้ เราได้บูชาพระพุทธเจ้าด้วยดอกไม้
ใด ด้วยการบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่ง
พุทธบูชา.
ในกัปที่ ๗๐ แต่กัปนี้ ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๑๖ ครั้ง
พระนามว่าอรณัญชหะสมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ มีพละมาก.
คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และ
อภิญญา ๖ เราได้ทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า
เราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
ทราบว่า ท่านพระอโสกปูชกเถระได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ด้วย
ประการฉะนี้แล.
จบอโสกปูชกเถราปทาน
พระปิฎกธรรม
星期一, 五月 14, 2012
Nak
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/389/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ธรรมดาสร้างสรรไว้ในแก้วมณีดวงนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สมฺมตาลํ ได้แก่ ตะโพน ที่ทำด้วยไม้
ตะเคียนเป็นต้นและกังสดาล. บทว่า ตุริยตาฬิตสํฆุฏฺฐํ ได้แก่ เครื่องดนตรี
ต่างๆ ที่เขาประโคมไว้อย่างครึกครื้นเป็นอันมาก. บทว่า มุฏฺฐิกา ได้แก่
มวยปล้ำ. บทว่า โสภิยา ได้แก่ หญิงงามเมือง และชายรูปงาม. บทว่า
เวตาลิเก ได้แก่ ผู้ทำกาลเวลาให้ปรากฏขึ้น. บทว่า ชลฺเล ได้แก่ ช่างตัด-
ผมกำลังปลงผมและหนวดอยู่.
ในแก้วมณีดวงนี้ มีงามมหรสพอันเกลื่อนกล่น
ไปด้วยชายหญิง ขอเชิญทอดพระเนตรพื้นที่เป็นที่เล่น
มหรสพ บนเตียงที่ซ้อนกันเป็นชั้น ๆ อันธรรมดา
สร้างสรรไว้ในแก้วมณีดวงนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มญฺจาติมญฺเจ ได้แก่ เตียงที่ผูกไว้ข้างบน
แห่งเตียงใหญ่. บทว่า ภูมิโย ได้แก่ ภูมิที่แสดงมหรสพ อันน่ารื่นรมย์.
ขอพระองค์จงทอดพระเนตรดูพวกนักมวย ซึ่ง
ต่อยกันด้วยแขนทั้งสองอยู่ในสนามเล่นมหรสพ ทั้งผู้
ชนะและผู้แพ้ อันธรรมดาสร้างสรรไว้ในแก้วมณี
ดวงนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สมฺมชฺชสฺมิํ แปลว่า ในสนามมวย.
บทว่า นีหเต แปลว่า ผู้กำจัด คือชนะตั้งอยู่. บทว่า นีหตมาเน แปลว่า
ผู้แพ้.
ขอเชิญทอดพระเนตรฝูงเนื้อต่าง ๆ เป็นอันมาก
ที่เชิงภูเขา คือ ราชสีห์ เสือโคร่ง ช้าง หมี หมาใน
พระปิฎกธรรม
星期日, 五月 13, 2012
Chadok
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/530/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ว่าด้วยพวกกระต่ายตื่นตูม
[๕๘๖] ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน ข้าพเจ้าอยู่
ในประเทศใด ประเทศนั้นทำเสียงว่าทุททุภะ
แม้ข้าพเจ้าเองก็ไม่รู้เสียงลั่นนั้นว่า อะไรทำ
ให้เกิดเสียงว่าทุททุภะ.
[๕๘๗] กระต่ายได้ยินผลมะตูมสุกหล่นมีเสียง
ว่า ทุททุภะ ก็วิ่งหนีไป หมู่เนื้อได้ฟังถ้อยคำ
ของกระต่ายแล้ว พากันตกใจวิ่งหนีไปด้วย.
[๕๘๘] ชนเหล่าใดมักเชื่อตามเสียงคนอื่น ยัง
ไม่ทันได้ถึงร่องรอยแห่งวิญญาณเลย ชน
เหล่านั้นนับว่าเป็นพาล มีความประมาทเป็น
อย่างยิ่ง ดีแต่เชื่อผู้อื่น.
[๕๘๙] ส่วนชนเหล่าใดสมบูรณ์ด้วยศีล ด้วย
ปัญญา ยินดีในความสงบ ชนเหล่านั้นนับ
ว่าเป็นบัณฑิต งดเว้นความชั่วห่างไกล ย่อม
ไม่เชื่อคนอื่นเลย.
จบ ทุท
พระปิฎกธรรม
星期四, 五月 10, 2012
Thewada
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/439/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แล้ว ภัตรเสร็จเรียบร้อยแล้ว ข้าแต่พระมหาสมณะ เพราะเหตุไรในกาล
ก่อนโบกขรณีนี้ไม่มีในที่นี้ เย็นนี้จึงมีสระโบกขรณีในที่นี้ได้ ก้อนศิลา
นี้ในกาลก่อนไม่มีวางไว้ ใครยกเอาก้อนศิลานี้มาวางไว้ กิ่งแห่งต้นรกฟ้า
นี้ในกาล
ดูก่อนกัสสป ผ้าบังสุกุลได้เกิดขึ้นแก่เราในที่นี้ ดูก่อนกัสสป เราได้มีความ
ดำรินี้ว่า เราจะพึงซักผ้าบังสุกุลในที่ไหนหนอแล กัสสป ลำดับนั้นแล ท้าว
สักกะเทวานมินทะ ได้ทราบถึงความปริวิตกแห่งใจของเราด้วยใจ จึงใช้
ฝ่ามือขุดสระโบกขรณีแล้ว ได้กล่าวกะเราว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอ
พระผู้มีพระภาคเจ้าจงซักผ้าบังสุกุลในที่นี้เถิด. ดูก่อน
ซึ่งมิใช่มนุษย์ใช้ฝ่ามือขุดเป็นสระโบกขรณี ดูก่อนกัสสป เราได้มีความ
ดำริว่า เราจะพึงขยำผ้าบังสุกุลในที่ไหนหนอแล ดูก่อนกัสสป ลำดับนั้นแล
ท้าวสักกะเทวานมินทะ ได้ทราบถึงความปริวิตกแห่งใจของเราด้วยใจ จึงได้
เอาแผ่นศิลาใหญ่มาวางไว้ กราบทูล ว่าข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มี
พระภาคเจ้า จงขยำผ้าบังสุกุล ณ ที่แผ่นศิลานี้เถิด ดูก่อนกัสสป เย็นวานนี้
เทวดามิใช่มนุษย์จึงได้วางแผ่นศิลาไว้แล้ว ดูก่อนกัสสป เราได้มีความดำริว่า
เราจะพึงตากผ้าบังสุกุลในที่ไหนหนอแล ดูก่อนกัสสป ลำดับนั้นแล เทพยดา
ผู้สิงสถิตอยู่ ณ ต้นรกฟ้า ได้ทราบถึงความปริวิตกแห่งใจของเราด้วยใจแล้ว
จึงน้อมเอากิ่งไม้ลงมาแล้ว กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มี-
พระภาคเจ้าจงห้อยตาก ณ ที่กิ่งไม้นี้เถิด ก็ต้นรกฟ้านั้นสูงแค่มือเอื้อมถึง. ดู
ก่อนกัสสป เราได้มีความดำริว่าเราจะพึงเปลี่ยนผ้าบังสุกุล ณ ที่ไหนหนอแล.
พระปิฎกธรรม
星期六, 五月 05, 2012
Hai
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/626/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ความเป็นผู้ฉลาด ในการน้อมไปในสมาธินั้น ๆ ด้วยประการฉะนี้.
หมวด ๘ มีอรรถดังกล่าวแล้ว. ในหมวด ๙ บทว่า รูปาวจโร
ธรรมเป็นรูปเป็นไฉน? รูปาวจรเนื่องในรูปาวจรธรรม ดังที่ท่าน
กล่าวไว้โดยนัยมีอาทิว่า เหฏฺฐโต พฺรหฺมโลกํ ปริยนฺตํ กริตฺวา
อุปริโต อกนิฏฺเฐ เทเว อนฺ โตกริตฺวา๑ เบื้องล่าง ทำพรหมโลก
ที่สุด เบื้องบนทำเทพชั้นอกนิฏฐ์เป็นที่สุด. ในข้อนี้มีวจนัตถะดังต่อไปนี้
นี้ ชื่อว่า รูปาวจร เพราะอรรถว่ารูป ได้แก่ รูปขันธ์ ย่อมเที่ยวไป
ในรูปภพนี้, ไม่ใช่กามภพ, เพราะว่าแม้รูปขันธ์ท่านก็กล่าวว่ารูป ดุจ
ในบทมีอาทิว่า รูปกฺขนฺโธ รูปํ ๒- รูปขันธ์เป็นรูป. อนึ่ง รูปพรหมนั้น
มี ๑๖ ชั้น คือ
พรหมปาริสัชชะ ๑
พรหมปุโรหิต ๑
มหาพรหม ๑
ปริตตาภา ๑
อัปปมาณาภา ๑
อาภัสสรา ๑
ปริตตสุภา ๑
๑. อภิ. สํ. ๓๔/๘๒๙. ๒. อภิ. ยมก. ๓๘/๒๔
พระปิฎกธรรม
星期三, 五月 02, 2012
Fang
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 60/318/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็ให้เขาขึ้นหลังตนพาไปส่งถึงทางไปกรุงพาราณสีแล้วจึงกลับ. ในวันที่เขาเข้า
ไปถึงกรุงพาราณสีนั่นเอง พระอัครมเหสีของพระราชาพระนามว่า เขมาเทวี
ทรงฝันเห็นกวางทองแสดงธรรมกถาถวายพระนางในพระสุบินเมื่อใกล้รุ่ง
ทรงพระดำริว่า ถ้ามฤคเห็นปานนี้ ไม่พึงมีไซร้ เราไม่น่าฝันเห็นเขา
ได้เลย คงจักมีแน่ ต้องกราบทูลแด่พระราชา. พระนางเข้าเฝ้าพระราชา
กราบทูลว่า ข้าแต่พระทูลกระหม่อม หม่อมฉันปรารถนาจะเห็นกวางทอง
ประสงค์จะฟังธรรมกถาของกวางทอง ถ้าจักได้ หม่อมฉันจักคงมีชีวิตอยู่
ถ้าไม่ได้ชีวิตของหม่อมฉันจักไม่มี. พระราชาทรงปลอบพระนาง พลางตรัสว่า
ขอให้มีในมนุษยโลกเถอะน่ะ เธอต้องได้แน่ ดังนี้แล้วรับสั่งให้หาพวกพราหมณ์
มาเฝ้า ตรัสถามว่า ธรรมดามฤคที่มีสีเหมือนสีทองยังจะมีอยู่หรือ ทรงสดับว่า
ข้าแต่สมมติเทพ มีอยู่พระเจ้าข้า ก็รับ
ลงในผอบทอง วางไว้ ณ คอช้างที่ประดับเสร็จแล้ว มีพระประสงค์จะประทาน
ช้างนั้นกับผอบทองที่ใส่ถุงเงิน ๑,๐๐๐ กระษาปณ์ และสิ่งของที่ยิ่งกว่านี้แก่ผู้ที่
บอกเรื่องกวางทองได้ แล้วรับสั่งให้เขียนคาถาลงในแผ่นทอง ให้หาอำมาตย์
ผู้หนึ่งมาเฝ้า มีดำรัสตรัสว่า มาเถิด เจ้าจงแจ้งคาถานี้ตามคำของเราแก่ชาว
พระนครนะพ่อ แล้วตรัสพระคาถาที่ ๑ ในชาดกนี้ว่า
ใครบอกมฤคซึ่งสูงสุดกว่ามฤคทั้งหลายนั้นแก่
เราได้ เราจะให้บ้านส่วยและหญิงที่ประดับประดาแล้ว
แก่ผู้นั้น.
อำมาตย์ ถือแผ่นทองเที่ยวป่าวร้องไปในพระนครทั่วทุกแห่ง ลำดับนั้น
แลเศรษฐีบุตรก็เข้าไปสู่กรุงพาราณสี
พระปิฎกธรรม
星期二, 五月 01, 2012
Plai
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/66/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อเจตโน กฏฺฐกลิงฺครูปโม
กระดูกทั้งหลายตั้ง
มากจากกายนี้ อันสิ่งไร ๆ มิได้ผูกไว้ กายนี้หากเอ็น
ทั้งหลายผูกรัดไว้ อันชราเตือนแล้ว ไม่มีเจตนา [ ใจ ]
อุปมาดังท่อนไม้.
ทุคฺคนฺเธ จาปิ ทุคฺคนฺธํ เภทนมฺหิ จ วยธมฺมํ
อฏฺฐิปุเฏ
ตมฺหิ จ วิเนถ ฉนฺทํ เหสฺสถ ปุตฺตา ทสพลสฺส.
ซากศพเกิดในซากศพ ของเน่าเกิดในของไม่
สะอาด ของเหม็นเกิดในของเหม็น ของต้องเสื่อม
สภาพเกิดในของต้องสลายไป กองกระดูกเกิดในกอง
กระดูก ของเน่าเกิดในกายเน่า เธอทั้งหลาย จง
กำจัดความพอใจในกายอันเน่านั้นเสีย ก็จักเป็นบุตร
ของตถาคตทศพล.
โดยปริเฉท ก็กำหนดว่า ภายในกระดูก ตัดตอนด้วยเยื่อในกระดูก
ภายนอก ตัดตอนด้วยเนื้อ ปลายและโคนตัดตอนด้วยกระดูกของกันและกัน
เอง นี้เป็นการกำหนดกระดูกเหล่านั้นโดยสภาค ส่วนการกำหนดโดยวิสภาค
ก็เช่นเดียวกับผมนั้นแล. กำหนดกระดูกโดยวรรณะเป็นต้น มีประการดังกล่าว
มาฉะนี้.
พระปิฎกธรรม
订阅:
博文 (Atom)