星期六, 五月 05, 2012

Hai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/626/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อาจารย์ทั้งหลายย่อมพรรณนา ความแห่งบททั้งหลายเหล่านี้อย่างนี้ว่า
ความเป็นผู้ฉลาด ในการน้อมไปในสมาธินั้น ๆ ด้วยประการฉะนี้.
หมวด ๘ มีอรรถดังกล่าวแล้ว. ในหมวด ๙ บทว่า รูปาวจโร
ธรรมเป็นรูปเป็นไฉน? รูปาวจรเนื่องในรูปาวจรธรรม ดังที่ท่าน
กล่าวไว้โดยนัยมีอาทิว่า เหฏฺฐโต พฺรหฺมโลกํ ปริยนฺตํ กริตฺวา
อุปริโต อกนิฏฺเฐ เทเว อนฺ โตกริตฺวา เบื้องล่าง ทำพรหมโลกให้อาทิผิด สระมี
ที่สุด เบื้องบนทำเทพชั้นอกนิฏฐ์เป็นที่สุด. ในข้อนี้มีวจนัตถะดังต่อไปนี้
นี้ ชื่อว่า รูปาวจร เพราะอรรถว่ารูป ได้แก่ รูปขันธ์ ย่อมเที่ยวไป
ในรูปภพนี้, ไม่ใช่กามภพ, เพราะว่าแม้รูปขันธ์ท่านก็กล่าวว่ารูป ดุจ
ในบทมีอาทิว่า รูปกฺขนฺโธ รูปํ ๒- รูปขันธ์เป็นรูป. อนึ่ง รูปพรหมนั้น
มี ๑๖ ชั้น คือ
พรหมปาริสัชชะ ๑
พรหมปุโรหิต ๑
มหาพรหม ๑
ปริตตาภา ๑
อัปปมาณาภา ๑
อาภัสสรา ๑
ปริตตสุภา ๑
๑. อภิ. สํ. ๓๔/๘๒๙. ๒. อภิ. ยมก. ๓๘/๒๔
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: