Plai
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/66/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พทฺโธ นหารูหิ ชราย โจทิโต
อเจตโน กฏฺฐกลิงฺครูปโม
กระดูกทั้งหลายตั้งปลายอาทิผิด อักขระเรียงกัน ในที่ต่อเป็นอัน
มากจากกายนี้ อันสิ่งไร ๆ มิได้ผูกไว้ กายนี้หากเอ็น
ทั้งหลายผูกรัดไว้ อันชราเตือนแล้ว ไม่มีเจตนา [ ใจ ]
อุปมาดังท่อนไม้.
กุณปํอาทิผิด สระ กุณเป ชาตํ อสุจิมฺหิ จ ปูตินิ
ทุคฺคนฺเธ จาปิ ทุคฺคนฺธํ เภทนมฺหิ จ วยธมฺมํ
อฏฺฐิปุเฏ อฏฺฐิปุโฏอาทิผิด อักขระ นิพฺพตฺโต ปูตินิ ปูติกายมฺหิ
ตมฺหิ จ วิเนถ ฉนฺทํ เหสฺสถ ปุตฺตา ทสพลสฺส.
ซากศพเกิดในซากศพ ของเน่าเกิดในของไม่
สะอาด ของเหม็นเกิดในของเหม็น ของต้องเสื่อม
สภาพเกิดในของต้องสลายไป กองกระดูกเกิดในกอง
กระดูก ของเน่าเกิดในกายเน่า เธอทั้งหลาย จง
กำจัดความพอใจในกายอันเน่านั้นเสีย ก็จักเป็นบุตร
ของตถาคตทศพล.
โดยปริเฉท ก็กำหนดว่า ภายในกระดูก ตัดตอนด้วยเยื่อในกระดูก
ภายนอก ตัดตอนด้วยเนื้อ ปลายและโคนตัดตอนด้วยกระดูกของกันและกัน
เอง นี้เป็นการกำหนดกระดูกเหล่านั้นโดยสภาค ส่วนการกำหนดโดยวิสภาค
ก็เช่นเดียวกับผมนั้นแล. กำหนดกระดูกโดยวรรณะเป็นต้น มีประการดังกล่าว
มาฉะนี้.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论