turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 14/285/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประการฉะนี้. อีกอย่างหนึ่ง ความท้อแท้ภายใน ย่อมทำอันตรายแก่ผู้ไม่มี
ความเพียร ผู้ไม่มีสัมปชัญญะ ย่อมหลงลืมในการกำหนด อุบายในการงดเว้น
สิ่งที่มิใช่อุบาย ผู้มีสติหลงลืมแล้ว ย่อมไม่สามารถในการกำหนดอุบาย และ
ในการสละสิ่งที่ไม่ใช่อุบาย ด้วยเหตุนั้น กัมมัฏฐานนั้น ของภิกษุนั้น ย่อม
ไม่สำเร็จ เพราะฉะนั้น กัมมัฏฐานนั้น ย่อมสำเร็จด้วยอานุภาพแห่งธรรม
เหล่าใด เพื่อทรงแสดงธรรมเหล่านั้น พึงทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
มีเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ. ทรงแสดงกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน และองค์
แห่งสัมปโยคะ บัดนี้เพื่อจะทรงแสดงองค์แห่งการละ จึงตรัสว่า นำออกเสีย
ซึ่งอภิชฌา และ โทมนัสในโลก.
บรรดาคำเหล่านั้น คำว่า นำออกเสีย หมายความว่า นำออกเสีย
ด้วยการนำออกชั่วขณะหรือด้วยการนำออกด้วยการข่มไว้. คำว่า ในโลกก็คือ
ในกายอันนั้นแหละ. จริงอยู่ กายในที่นี้ ทรงหมายถึงโลก เพราะอรรถ
ว่าชำรุดทรุดอาทิผิดโทรม. อภิชฌา และโทมนัส มิใช่พระโยคาวจรนั้นละได้ในอารมณ์
เพียงกายเท่านั้น แม้ในเวทนาเป็นต้น ก็ละได้เหมือนกัน เพราะฉะนั้น
ท่านจึงกล่าวไว้ในวิภังค์ (สติปัฏฐานวิภังค์) ว่า อุปาทานขันธ์ ๕ ก็ชื่อว่าโลก.
คำนั้นท่านกล่าวตามนัยแห่งการขยายความ เพราะธรรมเหล่านั้น นับ
ได้ว่าเป็นโลก. แต่ท่านกล่าวคำอันใดไว้ว่า โลกเป็นอย่างไร โลกก็คือกาย
อันนั้นแหละ ความในคำนั้นมีดังนี้แล. พึงเห็นการเชื่อมความดังนี้ว่า นำออก
เสียซึ่งอภิชฌา และโทมนัสในโลกนั้น . ก็เพราะในที่นี้ กามฉันท์รวมเข้ากับ
ศัพท์ว่า อภิชฌา พยาบาทรวมเข้ากับศัพท์ว่าโทมนัส ฉะนั้น จึงควรทราบว่า
ทรงอธิบาย การละนิวรณ์ด้วยการทรงแสดงธรรมอันเป็นคู่ที่มีกำลังนับเนื่องใน
นิวรณ์. แต่โดยพิเศษ ในที่นี้ ตรัสการละความยินดีที่มีกายสมบัติเป็น
มูลด้วยการกำจัดอภิชฌา ตรัสการละความยินร้ายที่มีกายวิบัติเป็นมูล ด้วยการ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/131/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เจ้าเป็นพราหมณ์ชั่ว ดังนี้, แม้ภิกษุนั้น พระวินัยธรพึงปรับด้วยอาบัติ
เหมือนกัน.
ก็ในวาระว่า สนฺติ อิเธกจฺเจ เป็นต้นนี้ เป็นอาบัติทุกกฏ เพราะ
เป็นคำกล่าวกระทบกระทั่ง. แม้ในวาระว่า เย-นูน-น-มยํ ดังนี้เป็นต้น
ก็นัยนี้เหมือนกัน. แต่ในอนุปสัมบัน เป็นทุกกฏอย่างเดียว ในวาระทั้ง ๔.
แต่ด้วยคำว่า โจโรสิ คณฺเภทโกสิ (เจ้าเป็นโจร เจ้าเป็นคนทำลายปม)
เป็นต้น ทุก ๆ วาระ เป็นทุกกฏเหมือนกัน ทั้งอุปสัมบันทั้งอนุปสัมบัน.
อนึ่ง เพราะความประสงค์จะเล่น เป็นทุพภาษิตทุก ๆ วาระ ทั้งอุปสัมบัน
ทั้งอนุปสัมบัน. ความเป็นผู้มีความประสงค์ในอันล้อเลียนและหัวเราะ ชื่อว่า
ความเป็นผู้มีความประสงค์จะเล่น ก็ในสิกขาบทนี้ เว้นภิกษุเสีย สัตว์ทั้งหมด
มีนางภิกษุณีเป็นต้น บัณฑิตพึงทราบอาทิผิด สระว่า ตั้งอยู่ในฐานะแห่งอนุปสัมบัน.
ในคำว่า อตฺถปุเรกขารสฺส เป็นต้น พึงทราบว่า ภิกษุผู้กล่าว
อรรถแห่งพระบาลี ชื่อว่า อัตถปุเรกขาระ (ผู้มุ่งอรรถ). ผู้บอกสอนพระบาลี
พึงทราบว่า ธัมมปุเรกขาระ (ผู้มุ่งธรรม). ผู้ตั้งอยู่ในการพร่ำสอน กล่าว
โดยนัยเป็นต้นว่า ถึงบัดนี้ เจ้าเป็นคนจัณฑาล, เจ้าก็อย่าได้ทำบาป, อย่าได้
เป็นคนมีมืดมามืดไปเป็นเบื้องหน้า ดังนี้, พึงทราบว่า ชื่อว่า อนุสาสนี-
ปุเรกขาระ (ผู้มุ่งสอน). บทที่เหลือตื้นทั้งนั้นแล.
สิกขาบทนี้ มีสมุฎฐาน ๓ เกิดทางกายกับจิต ๑ ทางวาจากับจิต ๑
ทางกายวาจากับจิต ๑ เป็นกิริยา สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม
วจีกรรม อกุศลจิต ทุกขเวทนา ฉะนี้แล.
แต่ในอาบัติเหล่านี้ อาบัติทุพภาษิต เกิดทางวาจากับจิต เป็นกิริยา
สัญญาวิโมกข์ สจิตตกะ อกุศลจิต มีเวทนา ๒ คือ สุขเวทนา ๑ อุเปกขา-
เวทนา ๑.
โอมสวาทสิกขาบทที่ ๒ จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/137/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พูดเหน็บแนมกระทบโรคทราม
[๒๖๗] อุปสัมบันได้ยินถ้อยคำของอุปสัมบันแล้ว เก็บเอาคำส่อเสียด
ไปบอกแก่อุปสัมบันว่า ภิกษุชื่อนี้ พูดเหน็บแนมท่านว่า เป็นโรคเรื้อน...
โรคฝี. . โรคกลาก . . . โรคมองคร่อ . .. โรคลมบ้าหมู ดังนี้เป็นต้น ต้อง
อาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ คำพูด.
พูดเหน็บแนมกระทบโรคอุกฤษฏ์
[๒๖๘] อุปสัมบันได้ยินถ้อยคำของอุปสัมบันแล้ว เก็บเอาอาทิผิด สระคำส่อเสียด
ไปบอกแก่อุปสัมบันว่า ภิกษุชื่อนี้ พูดเหน็บแนมท่านว่า เป็นโรคเบาหวาน
ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ คำพูด.
พูดเหน็บแนมกระทบรูปพรรณทราม
[๒๖๙] อุปสัมบันได้ยินถ้อยคำของอุปสัมบันแล้ว เก็บเอาคำส่อเสียด
ไปบอกแก่อุปสัมบันว่า ภิกษุชื่อนี้ พูดเหน็บแนมท่านว่า เป็นคนสูงเกินไป...
ต่ำเกินไป. . . ดำเกินไป.. .ขาวเกินไป ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ
คำพูด.
พูดเหน็บแนมกระทบรูปพรรณอุกฤษฏ์
[๒๗๐] อุปสัมบันได้ยินถ้อยคำของอุปสัมบันแล้ว เก็บเอาคำส่อเสียด
ไปบอกแก่อุปสัมบันว่า ภิกษุชื่อนี้ พูดเหน็บแนมท่านว่า เป็นคนไม่สูงนัก...
ไม่ต่ำนัก ... ไม่ดำนัก. . .ไม่ขาวนัก ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ
คำพูด.
พูดเหน็บแนมกระทบกิเลสทราม
[๒๗๑] อุปสัมบันได้ยินถ้อยคำของอุปสัมบันแล้ว เก็บเอาคำส่อเสียด
ไปบอกแก่อุปสัมบันว่า ภิกษุชื่อนี้ พูดเหน็บแนมท่านว่า เป็นผู้ถูกราคะกลุ้มรุม
. . .ถูกโทสะย่ำยี . . . ถูกโมหะครอบงำ ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ
คำพูด.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 14/204/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๔. ความตรึก (วิตก)
๕. ธรรมเครื่องเนิ่นช้า (ปปัญจ)
๖. ความสุขใจ (โสมนัส)
๗. ความทุกข์ใจ (โทมนัส)
๘. ความรู้สึกเฉย ๆ (อุเบกขา)
๙. มารยาททางกาย (กายสมาจาร)
๑๐. มารยาททางวาจา (วจีสมาจาร)
๑๑. การแสวงหา (ปริเยสนา)
๑๒. ความสำรวมอินทรีย์ (อินทริยสังวร)
๑๓. ธาตุจำนวนมาก (อเนกธาตุ)
๑๔. ความดับล่วงส่วน (อัจจันตนิฏฐา)
ความทะยานอยาก ท่านเรียกว่าเอชาคือ ความหวั่นไหว เพราะอรรถ
ว่าไหวหวั่น. ความหวั่นไหวนั้น เรียกว่า โรค เพราะอรรถว่า เบียดเบียน
เรียกว่า ฝีอาทิผิด อักขระ เพราะอรรถว่า ประทุษร้ายภายใน เรียกว่า ลูกศร เพราะอรรถ
ตามแทง. คำว่า เพราะฉะนั้น บุรุษนี้ คือ ความหวั่นไหวย่อมคร่าคน
เพื่อประโยชน์แก่อันเกิดยิ่งขึ้นในภพนั้น ๆ ตามสมควรแก่กรรมที่ตนอาทิผิด อักขระได้ทำไว้
เพราะเหตุใด เพราะเหตุนั้น บุรุษนี้จึงย่อมถึงความสูงต่ำด้วยอำนาจภพนั้น ๆ.
สูงในพรหมโลก ในเทวโลกต่ำ สูงในเทวโลก ในมนุษยโลกต่ำ สูงใน
มนุษยโลก ในอบายต่ำ. คำว่า เยสาหํ ภนฺเต ตัดบทเป็น เยสํ อหํ ภนฺเต.
เพราะคำว่า เยสาหํ ในที่นี้ เป็นด้วยอำนาจการเชื่อม (สนธิ). คำว่า ตามที่
ได้ฟังมา ตามที่ได้เรียนมา คือ ข้าพระพุทธเจ้า ได้ฟังมาและได้เรียนมา
อย่างไร. คำว่า ย่อมแสดงธรรมอย่างนี้ คือ ย่อมแสดงธรรมคือวัตตบท
เจ็ดประการ. คำว่า น จาหํ เตสํ คือ ส่วนข้าพระพุทธเจ้าผู้เป็นสาวก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 14/273/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บุคคลเจริญแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อบรรลุมรรคที่เป็นโลกุตตร. เพราะเหตุนั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เพื่อบรรลุญายธรรม.
ข้อว่า เพื่อให้แจ้งพระนิพพาน ท่านอธิบายว่า เพื่อทำให้แจ้ง
คือเพื่อประจักษ์ด้วยตนเอง ซึ่งอมตธรรมที่ได้ชื่อว่านิพพาน เพราะเว้นจาก
ตัณหาเครื่องร้อยรัด. จริงอยู่ มรรคนี้ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมยังการทำ
ให้แจ้งพระนิพพานให้สำเร็จไปตามลำดับ. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสว่า เพื่อทำให้แจ้งพระนิพพาน ดังนี้.
ในพระสูตรนั้น ถึงเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เพื่อความหมดจด
ของสัตว์ทั้งหลายแล้ว ข้อที่ว่า เพื่อก้าวล่วงโสกะ และปริเทวะเป็นต้น
ก็เป็นอันสำเร็จใจความได้ก็จริง แต่ยกเว้นอาทิผิด อาณัติกะผู้ฉลาดรู้ข้อยุติของคำสั่งสอนเสียแล้ว
ก็ไม่ปรากฏแก่คนอื่น ๆ ได้ แต่พระผู้มีพระภาคเจ้า หาได้ทรงทำให้ชนผู้ฉลาด
รู้ข้อยุติของคำสั่งสอนเสียก่อนแล้ว ทรงแสดงธรรมในภายหลังไม่ หากแต่ทรง
ยังชนทั้งหลายให้รู้อรรถะนั้น ๆ ด้วยสูตรนั้น ๆ เลยทีเดียว เพราะฉะนั้น ในที่นี้
เอกายนมรรค จะยังอรรถใด ๆ ให้สำเร็จได้ ก็ทรงแสดงอรรถนั้น ๆ ให้ปรากฏ
จึงตรัสข้อว่า เพื่อก้าวล่วงโสกะ และปริเทวะเป็นต้น. หรืออีกนัยหนึ่ง
ความหมดจดของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมเป็นไปได้ด้วยเอกายนมรรค ความหมดจด
นั้น. ย่อมมีได้ด้วยความก้าวล่วงโสกะ และปริเทวะ ความก้าวล่วงโสกะ และ
ปริเทวะ ย่อมมีได้ด้วยความดับทุกข์ และโทมนัส ความดับทุกข์และโทมนัส
ย่อมมีได้ด้วยการบรรลุญายธรรม การบรรลุญายธรรม ย่อมมีได้ด้วยการทำ
ให้แจ้งพระนิพพาน เพราะฉะนั้น เมื่อจะทรงแสดงลำดับการอันนี้ จึงตรัสว่า
เพื่อความหมดจดของสัตว์ทั้งหลาย แล้วตรัส ข้อว่า เพื่อก้าวล่วงโสกะ
และปริเทวะเป็นต้นไป.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/441/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทรงแสดงตั้งแต่ข้อต้นไปข้อสุดท้าย (ปลาย) บ้าง ตั้งแต่ท่ามกลางไปข้อสุดท้าย
บ้าง อนึ่ง ทรงแสดงตั้งแต่ข้อสุดท้ายไปข้อต้นบ้าง ตั้งแต่ท่ามกลางไปข้อต้น
บ้าง เหมือนการจับเถาวัลย์ของบุรุษ ๔ คน ผู้นำเถาวัลย์ไปฉะนั้น.
แสดงปฏิจจสมุปบาทอย่างที่ ๑
เหมือนอย่างว่า ในบุรุษ ๔ คน ผู้นำเถาวัลย์ไป คนหนึ่งเห็นโคน
เถาวัลย์ก่อนนั่นเทียว เขาจึงตัดโคนเถาวัลย์นั้นจับดึงเถาวัลย์ทั้งหมดไปใช้ใน
การงาน ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ฉันนั้น ย่อมทรงแสดงปฏิจจสมุปบาท
ตั้งแต่ข้อต้นจนถึงแม้ข้อสุดท้ายว่า อิโต โข ภิกฺขเว อวิชฺชาอาทิผิด อักขระปจฺจยา สํขารา
ฯเปฯ ชาติปจฺจยา ชรามรณํ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขารทั้งหลาย
เกิดเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย ฯลฯ ชราและมรณะ เกิดเพราะชาติ
เป็นปัจจัย ด้วยประการฉะนี้แล* ดังนี้.
แสดงปฏิจจสมุปบาทอย่างที่ ๒
เหมือนอย่างว่า ในบุรุษเหล่านั้น คนหนึ่งเห็นท่ามกลางเถาวัลย์ก่อน
เขาจึงตัดในท่ามกลาง ดึงเอาส่วนท่อนบนเท่านั้นมาใช้ในการงาน ฉันใด
พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ฉันนั้น ย่อมทรงแสดงตั้งแต่ท่ามกลางไปจนถึงแม้สุดท้าย
ว่า ตสฺส ตํ เวทนํ อภินนฺทโต อภิวทโต อชฺโฌสาย ติฏฺฐโต
อุปฺปชฺชติ นนฺทิ ยา เวทนาสุ นนฺทิ ตทุปาทานํ ตสฺสุปาทานปจฺจยา
ภโว ภวปจฺจยา ชาติ เมื่อกุมารนั้น เพลิดเพลิน บ่นถึง ติดใจ
เวทนานั้น ความเพลิดเพลินก็เกิดขึ้น ความเพลิดเพลินในเวทนา
* ม. มูล. เล่ม ๑๒. ๔๔๖/๔๘๐
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/1/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 34/176/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/254/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/3/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/6/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/36/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/517/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/1120/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/403/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/1090/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”