星期六, 一月 24, 2015

Wa Fi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 14/204/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๔. ความตรึก (วิตก)
๕. ธรรมเครื่องเนิ่นช้า (ปปัญจ)
๖. ความสุขใจ (โสมนัส)
๗. ความทุกข์ใจ (โทมนัส)
๘. ความรู้สึกเฉย ๆ (อุเบกขา)
๙. มารยาททางกาย (กายสมาจาร)
๑๐. มารยาททางวาจา (วจีสมาจาร)
๑๑. การแสวงหา (ปริเยสนา)
๑๒. ความสำรวมอินทรีย์ (อินทริยสังวร)
๑๓. ธาตุจำนวนมาก (อเนกธาตุ)
๑๔. ความดับล่วงส่วน (อัจจันตนิฏฐา)
ความทะยานอยาก ท่านเรียกว่าเอชาคือ ความหวั่นไหว เพราะอรรถ
ว่าไหวหวั่น. ความหวั่นไหวนั้น เรียกว่า โรค เพราะอรรถว่า เบียดเบียน
เรียกว่า ฝีอาทิผิด อักขระ เพราะอรรถว่า ประทุษร้ายภายใน เรียกว่า ลูกศร เพราะอรรถ
ตามแทง. คำว่า เพราะฉะนั้น บุรุษนี้ คือ ความหวั่นไหวย่อมคร่าคน
เพื่อประโยชน์แก่อันเกิดยิ่งขึ้นในภพนั้น ๆ ตามสมควรแก่กรรมที่ตนอาทิผิด อักขระได้ทำไว้
เพราะเหตุใด เพราะเหตุนั้น บุรุษนี้จึงย่อมถึงความสูงต่ำด้วยอำนาจภพนั้น ๆ.
สูงในพรหมโลก ในเทวโลกต่ำ สูงในเทวโลก ในมนุษยโลกต่ำ สูงใน
มนุษยโลก ในอบายต่ำ. คำว่า เยสาหํ ภนฺเต ตัดบทเป็น เยสํ อหํ ภนฺเต.
เพราะคำว่า เยสาหํ ในที่นี้ เป็นด้วยอำนาจการเชื่อม (สนธิ). คำว่า ตามที่
ได้ฟังมา ตามที่ได้เรียนมา คือ ข้าพระพุทธเจ้า ได้ฟังมาและได้เรียนมา
อย่างไร. คำว่า ย่อมแสดงธรรมอย่างนี้ คือ ย่อมแสดงธรรมคือวัตตบท
เจ็ดประการ. คำว่า น จาหํ เตสํ คือ ส่วนข้าพระพุทธเจ้าผู้เป็นสาวก
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: