星期二, 三月 03, 2015

Chaem Chaeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 67/56/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คำว่า มีสติ ความว่า มีสติด้วยเหตุ ๔ ประการ คือ ชื่อว่ามีสติ
เพราะเป็นผู้เจริญสติปัฏฐาน คือการพิจารณาเห็นกายในกาย ๑ ... การ
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลาย ๑ ... การพิจารณาเห็นจิตในจิต ๑ ...
การพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย ๑ ฯ ล ฯ ภิกษุนั้นท่านเรียกว่า
ผู้มีสติ เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ปราศจากตัณหา มีสติทุกเมื่อ.
[๑๑๐] ญาณ ปัญญา กิริยาที่รู้ ความเลือกเฟ้น ฯ ลฯ ความ
ไม่หลง ความเลือกเฟ้นธรรม ปัญญาอันเห็นชอบ ชื่อว่า สังขา
ในอุเทศว่า สงฺขาย นิพฺพุโต ภิกฺขุ.
คำว่า ทราบแล้ว ความว่า ทราบ คือรู้ เทียบเคียง พิจารณา
เจริญทำให้แจ่มแจ้งแล้ว คือทราบ ... ทำให้แจ่มแจ้งแล้วว่า สังขาร
ทั้งปวงไม่เที่ยง ... สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ... ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา ...
เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ฯ ล ฯ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้น
เป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา.
อีกอย่างหนึ่ง ทราบ ... ทำให้แจ่มอาทิผิด อักขระแจ้งแล้วโดยความเป็นสภาพ
ไม่เที่ยง ... เป็นทุกข์ ... เป็นโรค ... เป็นดังหัวฝี ... เป็นดังลูกศร ฯล ฯ
โดยไม่มีอุบายเครื่องออกไป.
คำว่า ดับแล้ว ความว่า ชื่อว่าดับแล้ว เพราะเป็นผู้ดับราคะ
โทสะ โมหะ ... มทะ ปมาทะ กิเลสทั้งปวง ทุจริตทั้งปวง ความกระวน
กระวายทั้งปวง ความเร่าร้อนทั้งปวง ความเดือดร้อนทั้งปวง อกุสลา-
ภิสังขารทั้งปวง.
คำว่า ภิกฺขุ ความว่า ชื่อว่าภิกษุ เพราะเป็นผู้ทำลายธรรม
 
พระปิฎกธรรม

1 条评论:

KROMAYON 说...

…เพื่อที่จะให้เห็นการกระจายศัพท์ และการยักเยื้อง ไปในแบบต่าง ๆ ในทาง และลักษณะแห่งการจดเขียน เช่นนี้ มีหลักฐาน ได้ยกมาจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ทั้งนั้น มากยิ่ง ๆโดยฉบับ ๙๑เล่มด้วยแล้ว พบ!มีคำเขียนผิดพิมพ์ผิด ตามบทงานต้นฉบับ ที่เผยแพร่แล้ว ในอินเทอร์เน็ต มาก! บทซึ่ง เป็นข้อสังเกต เป็นเหตุ อันเรื่อง ให้หาการปฏิสังเคราะห์ ไปด้วยโวหาร สรรพาลังการ หรืออุปมาฯ ใด ตามบทธรรม ที่พึงควรจะหมดจด ทำได้ แล้วได้ดีตามวิสัยจะพึงทำได้

ข้อเมื่อ ที่ยกมาในนี้ จึงใคร่ ขอนิมนต์อาราธนาพระคุณเจ้า ทั่วทั้งหมด ทั้งหลาย ว่าขอ ท่านจง แสดงกถาธิบายได้ตามสะดวก ด้วยความบทอันใด จะรั้ง ให้คนอยู่ได้ เป็นสุข และอยู่ได้เป็นที่เรืองปัญญาดี แล้วว่า ความอันใดจะเป็นความเจริญเรืองรุ่ง วัฒนา ที่ขาดตกบกพร่อง ให้มีโทษ ไม่มี จำเริญธำรงดี มีแต่ คติแนวทาง เรื่อง ความจะปราศจากไฝฝ้าราคี และมลทินทุกสิ่ง ด้วยความที่จะ ขจัดให้หมดไป ให้พ้นโทษ ทั้งหมดจบลงได้ ดังนี้ พวกเรานักศึกษ บาเรียนธรรม ความบทปริยัติสัทธรรมสโมสร เรียนทุกเวลา ขอเรียนเชิญพระคุณเจ้า แลปวงเหล่านักปราชญ์บัณฑิต ผู้มีปุถุปัญญาอันเจริญ หนาแน่น โดยสมัย

ดังกล่าว เช่นนี้ ขอให้ท่านพึงจงได้มาแสดงธรรม ตามภูมิ ตามปฏิภาณธรรม ตามปฏิญญา สาบานเป็นสัตย์ ณ แบบบท แห่งใดมีปริวรรต อันพึงสมควรแก่ธรรมได้ คือท่านได้เข้ากระทำความสมบูรณ์บริบูรณ์ ฉะนั้นได้ ด้วยตัวกล่องเครื่องมือทางข้อมูล ใน Internet เช่นนี้ เป็นต้น ให้สำเร็จภาค ด้วยพิจารณาภาค ภาษาไทย ณ ที่ความ ให้เห็นร่องรอย กล่าวนี้ เป็นต้น เพราะว่า ทุกท่านเป็นผู้ว่าง เป็นผู้ดี และสบาย ที่พร้อม และสามารถพอ จะดูจะทำ ลงแต่เหตุอันลึก! และละเอียด เพื่อที่ว่าจะสาน และแก้ปัญหา ที่บทความลี้ลับ ที่ซึ่งว่า จารึกสลัก! ให้เขียนถูกพิมพ์ถูก ย่อมมาทางหนึ่ง และเมื่อให้เขียนผิดพิมพ์ผิด ความเป็นจริงนั้นแล้ว นั่น! ก็ย่อมไปอีกทางหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ซึ่ง ก็ย่อมหมายความได้ว่า เขาได้ไปสู่ความลี้ลับ แบบผิด!

แล้ว ณ ที่ถูก หรือตรงที่พยายามกระทำตามคติ บทธรรมที่ถูก ท่านใดเขียน ท่านใดพิมพ์ โดยสามารถ ท่านสอบสวนพิจารณาจะกระทำแต่ที่ถูก และที่พึงเป็นที่พึ่ง ซื่อตรง ไปต่อบทพระวจนะ แต่โดยแท้ ท่านเหล่านั้น นั่นเอง ก็ย่อมจะไป หรือให้ไป แด่นฤมิต กิจประกาศ ณ ที่เป็นส่วน เป็นความ อันสถิตซึ่งธรรมดี มีสรรพาลังการ ไว้แก่นิรุตติสภาสโมสร อย่างไรแล้ว เช่นนั้น บทธรรมนั้น ย่อมเป็นที่ลงมาแต่ความลี้ลับ วิเศษ แบบสมบูรณ์ แลลงคำศัพท์แต่เฉพาะอธิบายของแบบที่จะให้ถูก…

...nai phra thamma khan 1...