星期五, 七月 29, 2016

Pupphacharitapathan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 71/245/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๖๒. อรรถกถาอโวปุปผิยเถราปทาน
อปทานของท่านพระอโวปุปผิยเถระ มีคำเริ่มต้นว่า วิหารา อภินิกฺ-
ขมฺม ดังนี้.
พระเถระแม้นี้ ผู้ได้บำเพ็ญบุญสมภารไว้ในพระพุทธเจ้าพระองค์
ก่อนๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแก่พระนิพพานในภพนั้น ๆ ในกาลแห่ง
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่าสิขี บังเกิดในเรือนมีตระกูล บรรลุเดียงสา
แล้วเพียบพร้อมด้วยศรัทธา ฟังพระธรรมเกิดความเลื่อมใส ถือเอาดอกไม้
ต่างๆ ด้วยมือทั้งสอง เกลี่ยไว้เบื้องบนพระพุทธเจ้า.
ด้วยบุญกรรมนั้น ท่านท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
เสวยสวรรค์สมบัติและจักรพรรดิสมบัติ อันเขาบูชาในที่ทุกสถาน ใน
พุทธุปบาทกาลนี้ บังเกิดในเรือนมีตระกูลแห่งหนึ่ง เจริญวัยแล้วเลื่อมใส
ในพระศาสนา บวชแล้วไม่นานนักก็ได้เป็นพระอรหันต์. ชื่อว่า อากาศ
เพราะอรรถว่า ว่างเปล่าคือโล่งแจ้งไปโดยรอบ. เพราะท่านได้โปรยดอกไม้
บนอากาศนั้น ท่านจึงปรากฏนามว่า อโวปุปผิยเถระ ดังนี้.
ท่านบรรลุสันติบทอย่างนี้แล้ว ระลึกถึงบุพกรรมของตน เกิด
โสมนัส เมื่อจะประกาศปุพพจริตาปทาน จึงกล่าวคำมีอาทิว่า วิหาร-
อภินิกฺขมฺม ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วิหารา ความว่า ชื่อว่า วิหาร เพราะ
เป็นที่นำมาโดยพิเศษ คือเป็นที่นำมา ได้แก่ยังอัตภาพอันไม่ตกไปให้
เป็นไปด้วยอิริยาบถ ๔ ในวิหารนั้น. ออกจากวิหารนั้นโดยพิเศษยิ่ง. บทว่า
อพฺภุฏฐาสิ จ จงฺกเม ความว่า ได้ยืน คือขึ้นไปในที่จงกรม เพื่อจะจงกรม
โดยพิเศษ. บทว่า จตุสจฺจํ ปกาเสนฺโต เชื่อมความว่า เมื่อกำลังจงกรม
๑. บาลี อาโปปุปผิยเถรปาทาน.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 七月 28, 2016

Chaksu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 81/253/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. จักขุวิญญาณ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. จักขุวิญญาณปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภจิต ฯลฯ
ปรารภจักษุ ฯลฯ ปรารภกาย ฯลฯ ปรารภเสียง ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะ
เกิดขึ้นได้ หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. มโนวิญญาณ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี และมโน-
วิญญาณ ปรารภความว่างเปล่า เกิดขึ้นได้ หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. จักขุวิญญาณ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี และจักขุ
วิญญาณปรารภความว่างเปล่า เกิดขึ้นได้ หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. มโนวิญญาณ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี และมโน-
วิญญาณ ปรารภอดีตและอนาคต เกิดขึ้นได้ หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. จักขุวิญญาณ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี จักขุวิญญาณ
ปรารภอดีตและอนาคต เกิดขึ้นได้ ฯลฯ
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. มโนวิญญาณ เป็นกุศลก็มี เป็นอกุศลก็มี มโนวิญญาณ
ปรารภผัสสะ ฯลฯ ปรารภจิต ปรารภจักษุอาทิผิด ฯลฯ ปรารภกาย ปรารภ
เสียง ฯลฯ ปรารภโผฏฐัพพะ เกิดขึ้นได้ หรือ ?
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 27, 2016

Mai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/542/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ครั้ง และลมเกิดจากพัดใบตาล. บทว่า เยน จ อสิตํ ปีตํ ขายิตํ สายิตํ สมฺมา-
ปริณามํ คจฺฉติ ความว่า ข้าวเป็นต้นที่กินก็ดี น้ำดื่มเป็นต้นที่ดื่มแล้วก็ดี
แป้งและของเคี้ยวเป็นต้นที่เคี้ยวแล้วก็ดี มะม่วงสุกน้ำผึ้งและน้ำอ้อยเป็นต้น
ที่ลิ้มแล้วก็ดี ย่อมสุกโดยชอบคือย่อมเปลี่ยนเป็นรสเป็นต้นนั้นเอง. ในข้อนี้มี
ความสังเขปดังนี้. แต่คำที่จะพึงกล่าวโดยพิสดาร ทั้งหมดพร้อมด้วยภาวนานัย
ได้กล่าวไว้แล้วในวิสุทธิมรรค. บทว่า หริตนฺตํ ได้แก่ ของเขียวสดนั้นเอง
อธิบายว่า เตโชธาตุ อาศัยหญ้าสดเป็นต้นก็ดับ. บทว่า ปนฺถนฺตํ ได้แก่
ทางใหญ่นั้นเอง. บทว่า เสลนฺตํ ได้แก่ ภูเขา. บทว่า อุทกนฺตํ ได้แก่
น้ำ. บทว่า รมณียํ วา ภูมิภาคํ ได้แก่ ภูมิภาคปราศหญ้าและพุ่มไม้เป็นต้น
ที่ว่างได้แก่ ภูมิภาคที่โล่ง. บทว่า อนาหารา ได้แก่ ไม่มีอาหารคือไม่มี
เชื้อ. ท่านกล่าวความวิการแห่งเตโชธาตุตามปกติไว้ดังนี้. ก็เมื่อเวลาที่โลก
พินาศด้วยเตโชธาตุ เตโชธาตุก็ไหม้อาทิผิด สระแสนโกฏิจักรวาล แม้เพียงขี้เถ้าก็ไม่
เหลืออยู่. บทว่า นหารุททฺทลฺเลน ได้แก่ ด้วยเศษของหนัง. บทว่า อคฺคึ
คเวสนฺติ ความว่า คนทั้งหลายถือเอาเชื้อละเอียดเห็นปานนี้แสวงหาไฟมันได้
ไออุ่นเพียงเล็กน้อยก็โพลงขึ้น. คำที่เหลือแม้ในที่นี้ พึงทราบโดยนัยก่อนแล.
พึงทราบวินิจฉัยในวาโยธาตุนิทเทสดังต่อไปนี้ บทว่า อุทฺธงฺคมา
วาตา ได้แก่ ลมที่พัดขึ้นเบื้องบนอันเป็นไปโดยอาการมีการเรอและสะอึก
เป็นต้น. บทว่า อโธคมา วาตา ได้แก่ ลมอาทิผิด อักขระพัดลงเบื้องต่ำ มีการขับถ่าย
อุจจาระ ปัสสาวะเป็นต้น. บทว่า กุจฺฉิยา วาตา ได้แก่ ลมที่พัดออกนอก
ลำไส้อาทิผิด สระใหญ่เป็นต้น. บทว่า โกฏฺฐาสยา วาตา ได้แก่ ลมภายในลำไส้ใหญ่.
บทว่าอาทิผิด สระ องฺคมงฺคานุสาริโน ได้แก่ ลมที่เกิดจากการคู้เข้าเหยียดออกเป็นต้น
ที่ซ่านไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ในร่างกายทั้งสิ้นตามแนวเส้นเอ็น. บทว่า อสฺสา-
โส ได้แก่ ลมหายใจเข้า. บทว่า ปสฺสาโส ได้แก่ลมหายใจออก. ในข้อนี้มี
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 七月 25, 2016

Phro

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 85/252/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๑๙๓] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๑
วาระ ... ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๑ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ
ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย
มี ๑ วาระ.
[๑๙๔] เพราะอาทิผิด อักขระนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย ในสหชาต-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ... ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๑
วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อินทริยปัจจัย มี ๑ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๑ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย
มี ๑ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
(ในทุก ๆ ปัจจัย มี ๑ วาระ).
[๑๙๕] เพราะนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย
นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย นอัญญมัญญปัจจัย นอุปนิสสย-
ปัจจัย นปุเรชาตปัจจัย นปัจฉาชาตปัจจัย นอาเสวนปัจจัย ใน
ปัจจัยทั้งหมดจนถึงอาเสวนปัจจัยเหมือนกัน แต่เมื่อนับนกัมมปัจจัยเข้า
ด้วย มี ๕ วาระ.
เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ นกัมมปัจจัย ในสหชาตปัจจัย มี ๑
วาระ ... ในนิสสยปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี ๑ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 七月 24, 2016

Nam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/263/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๒. ภิกขุวรรค
๑. จูฬราหุโลวาทสูตร
ทรงโอวาทพระราหุล
[๑๒๕] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้.
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเวฬุวันกลัน-
ทกนิวาปสถาน เขตพระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้นแล ท่านพระราหุลอยู่ ณ
ปราสาทชื่อว่า อัมพลัฏฐิกา ครั้งนั้น เวลาเย็น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จ
ออกจากที่เร้นอยู่แล้ว เสด็จเข้าไปยังอัมพลัฏฐิกา ปราสาทที่ท่านพระราหุลอยู่
ท่านพระราหุลได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแต่ไกล จึงปูลาดอาสนะและ
ตั้งน้ำสำหรับล้างพระบาทไว้ พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับนั่งบนอาสนะที่ปูลาด
ไว้ แล้วทรงล้างพระบาท ท่านพระราหุลถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว
นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
[๑๒๖] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเหลือน้ำไว้ในภาชนะน้ำหน่อย
หนึ่งแล้วตรัสกะท่านพระราหุลว่า ดูก่อนราหุล เธอเห็นน้ำเหลือหน่อยหนึ่งอยู่
ในภาชนะน้ำนี้หรือ.
ท่านพระราหุลกราบทูลว่า เห็นพระเจ้าข้า.
ดูก่อนราหุล สมณธรรมของบุคคลผู้ไม่มีความละอายในการกล่าวมุสา
ทั้งรู้อยู่ก็มีน้อยเหมือนกันฉะนั้น.
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเทน้ำอาทิผิด สระที่เหลือหน่อยหนึ่งนั้นเสีย แล้ว
ตรัสกะท่านพระราหุลว่า ดูก่อนราหุล เธอเห็นน้ำหน่อยหนึ่งที่เราเทเสียแล้ว
หรือ.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 22, 2016

Khropngam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/233/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โดยนิมิต อย่าเป็นผู้ถือเอาโดยอนุพยัญชนะ จงปฏิบัติเพื่อสำรวมจักขุนทรีย์
ที่เมื่อไม่สำรวมแล้ว เป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและ
โทมนัสครอบงำอาทิผิด อักขระได้ จงรักษาจักขุนทรีย์ จงถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์
เธอทั้งหลายฟังเสียงด้วยหูแล้ว . . . สูดกลิ่นด้วยจมูกแล้ว .. . ลิ้มรสด้วยลิ้น
แล้ว . . . ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว . . . รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว
อย่าได้เป็นผู้ถือเอาโดยนิมิต อย่าได้เป็นผู้ถือเอาโดยอนุพยัญชนะจงปฏิบัติ
เพื่อความสำรวมมนินทรีย์ที่เมื่อไม่สำรวมแล้ว เป็นเหตุให้อกุศลธรรมอัน
ลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงำอาทิผิด อักขระได้ จงรักษามนินทรีย์ จงถึงความ
สำรวมในมนินทรีย์ ขอถวายพระพร แม้ข้อนี้ ก็เป็นเหตุเป็นปัจจัยให้
ภิกษุเหล่านี้ผู้ยังอาทิผิด เป็นหนุ่ม วัยรุ่น มีผมดำสนิท เป็นหนุ่มเต็มตัว อยู่ใน
ปฐมวัย ผู้ยังไม่หมดความระเริงในกามทั้งหลาย ประพฤติพรหมจรรย์
บริสุทธิ์บริบูรณ์จนตลอดชีวิต และปฏิบัติอยู่ได้นาน.
[๑๙๘] อุ. น่าอัศจรรย์ ท่านภารทวาชะ น่าประหลาดจริงท่าน
ภารทวาชะ คำนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้รู้ ผู้เห็น เป็นพระอรหันตสัมมา-
สัมพุทธเจ้าตรัสดีแล้ว ท่านภารทวาชะ ข้อนี้แล เป็นเหตุเป็นปัจจัยให้
ภิกษุเหล่านี้ผู้ยังเป็นหนุ่ม วัยรุ่น มีผมดำสนิท เป็นหนุ่มเต็มตัว อยู่ใน
ปฐมวัย ยังเป็นผู้ไม่หมดความระเริงในกามทั้งหลาย ประพฤติพรหมจรรย์
บริสุทธิ์บริบูรณ์จนตลอดชีวิต และปฏิบัติอยู่ได้นาน ท่านภารทวาชะ ใน
สมัยใด แม้ข้าพเจ้าเอง มีกายมิได้รักษาแล้ว มีวาจามิได้รักษาแล้ว มีจิต
มิได้รักษาแล้ว มีสติมิได้ตั้งไว้แล้ว มีอินทรีย์ทั้งหลายมิได้สำรวมแล้ว
เข้าไปสู่ฝ่ายใน ในสมัยนั้น ธรรม คือ ความโลภทั้งหลายย่อมครอบงำ
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 20, 2016

Sadaeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 28/237/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทรงเห็นความผิด จึงรับสั่งให้เรียกคนเฝ้าสวนมาตรัสถามว่า บรรพชิตนี้
แม้ในวันอื่น ๆ มาในที่หรือ. คนเฝ้าพระราชอุทยานกราบทูลว่า อย่างนั้น
พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ในวันที่ท่านมาในที่นี้เจ้าพึงบอกเรา.
๒-๓ วันเท่านั้น แม้พระเถระก็มานั่งที่โคนไม้. คนเฝ้าพระราชอุทยาน
เห็นเข้า คิดว่า นี้เป็นบรรณาการใหญ่ของเรา จึงรีบไปกราบทูลพระราชา.
พระราชาเสด็จลุกขึ้น ทรงห้ามเสียงสังข์และบัณเฑาะว์เป็นต้น ได้เสด็จ
ไปยังอาทิผิด พระราชอุทยาน พร้อมด้วยอำมาตย์ผู้มีชื่อเสียงกำจรกำจาย. ด้วย
เหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า อุปสงฺกมิตฺวา.
บทว่า อนิกีฬิตาวิโน กาเมสุ ความว่า ความเล่นสำเริงใดใน
กามทั้งหลาย ผู้มีระดูมิได้สำเริงนั้น อธิบายว่าไม่ประสงค์บริโภคกาม. บทว่า
อทธานญฺจ อาปาเทนฺติ ความว่า ถือประเพณีประพฤติตามประเพณีมานาน.
บทว่า มาตุมตฺตีสุ แปลว่า ปูนมารดา จริงอยู่ คำทั้งหลายนี้ คือ มารดา
พี่สาว ลูกสาว เป็นอารมณ์หนักในโลก. พระเถระเมื่อแสดงอาทิผิด อักขระว่าบุคคลชำระ
จิตที่ผูกพันด้วยอารมณ์อันหนักไม่ได้ จึงกล่าวอย่างนั้นด้วยประการฉะนี้.
ลำดับนั้น พระเถระ เห็นจิตของท้าวเธอไม่ทรงหยั่งอาทิผิด อาณัติกะลงโดยสัญญานั้น จึง
กล่าวกัมมัฏฐานคืออาการ ๓๒ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเพื่อผูกจิตไว้ด้วย
อำนาจมนสิการปฏิกูลสัญญา (ใส่ใจด้วยสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล )
บทว่า อภาวิตกายา ได้แก่ ผู้มีกายอันเป็นไปในทวาร ๕ ยังมิ
ได้อบรม. บทว่า เตสํ ตํ ทุกฺกรํ โหติ ความว่า อสุภกรรมฐาน ของ
ผู้ที่ไม่ได้อบรมกายเหล่านั้น เป็นของทำได้ยาก. พระเถระ เมื่อเห็น
จิตของท้าวเธอที่ไม่หยั่งลงด้วยกรรมฐานแล้วนี้ จึงแสดง อินทรียสังวรศีล
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 七月 16, 2016

Kamnot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 15/98/1  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้แก่ เจ็ดวันที่พระสมณโคดมกำหนดอาทิผิด สระไว้แล้ว จักทำอะไรแก่พวกเราได้.
พวกปริพาชกได้กล่าวว่า พระสมณโคดมตรัสว่า นิโครธปริพาชกจัก
ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งของตนตลอดหนึ่งสัปดาห์ หนึ่งสัปดาห์นั้นจะทำ
ความไม่ผาสุกอะไรแก่เขา เอาเถอะ พวกเราจะประพฤติพรหมจรรย์
เพื่อความรู้ว่า ในภายในหนึ่งสัปดาห์ พวกเราจะสามารถทำให้แจ้งธรรม
นั้นได้หรือไม่. อีกนัยหนึ่ง ในข้อนี้ มีอธิบายว่า ปริพาชกเหล่านั้นไม่ได้
เกิดความคิด เพื่อจะรู้สักครั้งเดียวว่า ในวันหนึ่งพวกเราจักรู้ธรรมของ
พระองค์เลย ก็หนึ่งสัปดาห์จักอาทิผิด อักขระทำอะไรแก่ปริพาชกผู้เกียจคร้านเหล่านั้น
ได้ ปริพาชกอาทิผิด อักขระเหล่านั้น จักบำเพ็ญตลอดสัปดาห์ได้อย่างไร.
บทว่า สีหนาทํ คือบันลือแล้ว บันลือแบบไม่กลัวใคร
เป็นการทำลายวาทะผู้อื่น และเป็นการประกาศวาทะของตน. บทว่า
ปจฺจุฏฺฐาสิ คือดำรงอยู่แล้ว. บทว่า ตาวเทว แปลว่า ในขณะนั้น
นั่นเอง. บทว่า ราชคหํ ปาวิสิ ได้แก่ เสด็จเข้าไปยังกรุงราชคฤห์
ก็จริง ถึงอย่างนั้น จัดเป็นปัจจัยเพื่อเป็นวาสนาแก่ปริอาทิผิด สระพาชกเหล่านั้น
ต่อไป. คำที่เหลือทุก ๆ บท ชัดเจนแล้วทั้งนั้น.

จบ อรรถกถาอุทุมพริกสูตร
จบ สูตรที่ ๒
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 15, 2016

Samphuttha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/787/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期三, 七月 13, 2016

Chao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/282/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระเทวทัตทูลขอปกครองสงฆ์
[๓๖๑] ก็โดยสมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าอันบริษัทหมู่ใหญ่
แวดล้อมแล้ว ประทับนั่งแสดงธรรมแก่บริษัทพร้อมทั้งพระราชา ครั้งนั้น
พระเทวทัตลุกจากอาสนะ ห่มผ้าเฉวียงบ่า นั่งกระโหย่งประคองอัญชลีไปทาง
พระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วกราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงพระชราแล้ว เป็นผู้เฒ่าแก่หง่อมแล้ว ล่วงกาลผ่านวัยไปแล้ว บัดนี้ ขอ
พระองค์จงทรงขวนขวายน้อย ประกอบทิฏฐธรรมสุขวิหารอยู่เถิด ขอจงมอบ
ภิกษุสงฆ์แก่ข้าพระพุทธเจ้า ข้าพระพุทธเจ้าจักปกครองภิกษุสงฆ์.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสห้ามว่า อย่าเลยเทวทัต เธออย่าพอใจที่จะ
ปกครองภิกษุสงฆ์เลย.
แม้ครั้งที่สอง . . .
แม้ครั้งที่สาม พระเทวทัตก็ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าอาทิผิด สระว่า พระ-
พุทธเจ้าข้า บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระชราแล้ว เป็นผู้เฒ่า แก่หง่อม
แล้ว ล่วงกาลผ่านวัยไปแล้ว บัดนี้ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงขวนขวายน้อย
ประกอบทิฏฐธรรมสุขวิหารอยู่เถิด ขอจงมอบภิกษุสงฆ์แก่ข้าพระพุทธเจ้า
ข้าพระพุทธเจ้าจักปกครองภิกษุสงฆ์.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนเทวทัต แม้แต่สารีบุตรและ
โมคคัลลานะ เรายังไม่มอบภิกษุสงฆ์ให้ ไฉนจะพึงมอบให้เธอผู้ เช่นซากศพ
ผู้บริโภคปัจจัย เช่นก้อนเขฬะเล่า.
ทีนั้น พระเทวทัตคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรุกรานเรากลางบริษัท
พร้อมด้วยพระราชา ด้วยวาทะว่าบริโภคปัจจัยดุจก้อนเขฬะ ทรงยกย่องแต่
พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ดังนี้ จึงโกรธ น้อยใจ ถวายบังคมพระผู้มี
พระภาคเจ้า ทำประทักษิณแล้วกลับไป.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 12, 2016

Klao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 82/268/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาขันธยมก
อรรถกถาปวัตติวาระ
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเริ่มปวัตติวาระโดยนัยเป็นต้นว่า
ยสฺส รูปกฺขนฺโธ ถามว่า เพราะเหตุไรพระองค์จึงไม่ตรัสอุทเทสวาระ
ไว้ในปวัตติวาระนี้ ตอบว่า เพราะเป็นนัยที่ทรงแสดงไว้แล้วในหนหลัง
ก็นัยในอุทเทสวาระพระองค์ทรงแสดงไว้แล้วในปัณณัตติวาระ ก็โดย
นัยนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสอุทเทสวาระนั้น ทรงเริ่มนิทเทส
วาระเลยทีเดียว เพราะแม้ไม่ตรัสอุทเทสวาระไว้ในปัณณัตติวาระนี้
ใคร ๆ ก็อาจทราบได้.
ก็อันตรวาระ ๓ คือ อุปาทวาระ นิโรธวาระ อุปาทนิโรธ
วาระ ย่อมมีในมหาวาระ กล่าวอาทิผิด สระคือ ปวัตติวาระนี้.
ในวาระทั้ง ๓ นั้น วาระที่ ๑ เรียกว่า อุปาทวาระ เพราะ
แสดงลักษณะแห่งการเกิดขึ้นของธรรมทั้งหลาย.
วาระที่ ๒ เรียกว่า นิโรธวาระ เพราะแสดงลักษณะแห่งการ
ดับของธรรมทั้งหลายเหล่านี้นั้นนั้นแหละ.
วาระที่ ๓ เรียกว่า อุปาทนิโรธวาระ เพราะแสดงลักษณะ
แม้ทั้งสอง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงอาการแห่งการเกิดขึ้นของธรรม
ทั้งหลายในปวัตติวาระนี้ด้วยอุปาทวาระ, ทรงแสดงความไม่เที่ยงของ
ธรรมทั้งหลายเหล่านั้นนั้นเองด้วยนิโรธวาระว่า “ ชื่อว่า การเกิดขึ้น
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 七月 11, 2016

Nalagiri

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/298/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระผู้มีพระภาคเจ้ารับสั่งว่า มาเถิดภิกษุทั้งหลาย อย่ากลัวเลย ข้อที่
บุคคลจะปลงชีวิตตถาคตด้วยความพยายามของผู้อื่น นั่นไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่
โอกาสเพราะพระตถาคตทั้งหลายย่อมไม่ปรินิพพานอาทิผิด อักขระด้วยความพยายามของผู้อื่น.
[๓๗๘] คราวนั้น คนทั้งหลาย หนีขึ้นไปอยู่บนปราสาทบ้าง บน
เรือนโล้นบ้าง บนหลังคาบ้าง บรรดาคนเหล่านั้น พวกที่ไม่มีศรัทธา ไม่
เลื่อมใสไร้ปัญญา กล่าวอย่างนี้ว่า ชาวเราผู้เจริญ พระมหาสมณโคดม พระ
รูปงาม จักถูกช้างเบียดเบียน.
ส่วนพวกที่มีศรัทธา เลื่อมใส ฉลาด มีปัญญา กล่าวอย่างนี้ว่า ชาว
เราผู้เจริญ ไม่นานเท่าไรนัก พระพุทธนาคจักทรงทำสงครามกับช้าง.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแผ่เมตตาจิตไปสู่ช้างนาฬาคิรี.
ลำดับนั้น ช้างนาฬาอาทิผิด อักขระคิรีได้สัมผัสพระเมตตาจิตของพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้ว ลดงวงลงแล้วเข้าไปทางพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วได้ยืนอยู่ตรงพระพักตร์
พระผู้มีพระภาคเจ้า.
ขณะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกพระหัตถ์ขวาลูบกระพองช้าง
นาฬาคิรีพลางตรัสกะช้างนาฬาคิรี ด้วยพระคาถา ว่าดังนี้ :-
[๓๗๙] ดูก่อนกุญชร เจ้าอย่าเข้าไป
หาพระพุทธนาค เพราะการเข้าไปหาพระ-
พุทธนาคด้วยวธกจิตเป็นเหตุแห่งทุกข์ ผู้
ฆ่าพระพุทธนาคจากชาตินี้ไปสู่ชาติหน้าไม่มี
สุคติเลย เจ้าอย่าเมา และอย่าประมาท
เพราะคนเหล่านั้น เป็นผู้ประมาทแล้ว จะ
ไปสู่สุคติไม่ได้ เจ้านี่แหละ จักทำโดย
ประการที่จักไปสู่สุคติได้.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 08, 2016

Mahorasop

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/410/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ล้ออันเดียว. ที่ชื่อว่า สเตรา ตกไปเช่นกับใบเรือ. ที่ชื่อว่าคัคครา ออกเสียง
ดุจไม้ค้อนตกไป. ที่ชื่อว่า กปิสีสา เป็นเหมือนลิงยักคิ้ว. ที่ชื่อว่ามัจฉวิโลลิกา
เป็นเหมือนปลาน้ำตาไหล. ที่ชื่อกุกกุฏกา ตกเหมือนไก่. ที่ชื่อว่า ทัณฑมณิกา
ตกเช่นกับทางไถ. ที่ชื่อว่า สุกขาสนิ เพิกสถานที่ที่ตกขึ้น (ผ่าขึ้น). บทว่า
เทเว วสฺสนฺเต ได้แก่คำรามกระหึ่มแห้ง ๆ เมื่อฝนตกเป็นระยะ ๆ.
บทว่า อาตุมายํ ความว่าได้อาศัยเมืองอาตุมาอยู่. บทว่า ภูสาคาเร
ได้แก่โรงลานข้าว. บทว่า เอตฺถ โส ได้แก่ หมู่มหาชนที่ชุมนุมกัน เพราะ
เหตุนี้. บทว่า กฺว อโหสิ เป็น กุหึ อโหสิ. บทว่า โส ตํ ภนฺเต เป็น
โส ตฺวํ ภนฺเต. บทว่า สิงฺคิวณฺณํ ได้แก่มีสีเหมือนทองสิงคี. บทว่า
ยุคมฏฺฐํ แปลว่า เกลี้ยงทั้งคู่. อธิบายว่า คู่ผ้าเนื้อละเอียด. บทว่า ธารณียํ
ได้แก่ พึงทรงไว้ อธิบายว่า พึงห่ม เป็นระยะ ๆ. เจ้าปุกกุสะนั้น ใช้
เฉพาะในวันมหรสพอาทิผิด อักขระเห็นปานนั้นเท่านั้น ในเวลาอื่นก็ทิ้งไป. ท่านหมายเอาคู่
ผ้ามงคลสูงสุด จึงกล่าวไว้อย่างนี้. บทว่า อนุกมฺปํ อุปาทาย ได้แก่อาศัย
ความเอ็นดูในเรา. บทว่า อจฺฉาเทหิ นี้เป็นคำละเมียดละไม. อธิบายว่า
จงให้แก่เราหนึ่งผืน อานนท์หนึ่งผืน.
ถามว่า ก็พระเถระรับผ้านั้นหรือ. ตอบว่า รับสิ. เพราะเหตุไร.
เพราะมีกิจถึงที่สุดแล้ว. ความจริง ท่านพระอานนท์นั้น ห้ามลาภเห็นปานนั้น
ปฏิบัติหน้าที่อุปัฏฐากก็จริงอยู่ แต่หน้าที่อุปัฏฐากของท่านนั้น ถึงที่สุดแล้ว
เพราะฉะนั้นท่านจึงได้รับ. ก็หรือว่า ชนเหล่าใดพึงพูดอย่างนี้ว่า พระอานนท์
ที่จะไม่ยินดี ท่านอุปัฏฐากมาถึง ๒๕ ปี ไม่เคยได้อะไรจากสำนักของพระผู้มี
พระภาคเจ้าเลย. เพราะฉะนั้น ท่านจึงได้รับเพื่อตัดโอกาสของชนเหล่านั้น.
อนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรงทราบว่า อานนท์แม้รับก็จักไม่ใช้ด้วยตนเอง
คงจักบูชาเราเท่านั้น แต่บุตรของเจ้ามัลละ เมื่อบูชาอานนท์ ก็จักเท่ากับบูชา
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 06, 2016

Khakhop

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/418/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็ผลิตดอกออกสะพรั่งเหมือนกันไปหมด. มิใช่แต่ในสวนนั้นอย่างเดียวเท่านั้น
แม้ในหมื่นจักรวาลทั้งสิ้น ไม้ดอกก็ผลิดอก ไม้ผลก็ออกผล. ในลำต้นของ
ต้นไม้ทุกต้นมีขันธปทุมบานที่ลำต้น สาขาปทุมบานที่กิ่งทั้งหลาย วัลลิปทุม
บานที่เถาว์ อากาสปทุมบานที่อากาศ ทัณฑปทุมแทรกพื้นแผ่นดินขึ้นมาบาน.
มหาสมุทรทั้งหมดดารดาษไปด้วยบัว ๕ สี ป่าหิมพานต์กว้าง ๓,๐๐๐ โยชน์
ได้เป็นที่รื่นรมย์ยิ่งนัก เหมือนลำแพนหางนกยูงที่มัดติดกันเป็นพืด เหมือนพวง
และช่อดอกไม้ติดกันไม่มีระหว่าง เหมือนดอกไม้ประดับศีรษะ ที่ผูกเบียดกัน
เป็นอันดี และเหมือนผอบที่มีดอกไม้เต็ม. บทว่า เต ตถาคตสฺส สรีรํ
โอกิรนฺติ สาละคู่เหล่านั้น ถูกภุมมเทวดาเขย่าต้นกิ่งและค่าคบอาทิผิด อักขระ โปรยลงสู่
พระสรีระของพระตถาคต คือโรยดอกลงบนพระสรีระ. บทว่า อชฺโชกิรนฺติ
หล่นเกลื่อนดังประหนึ่งจะท่วม. บทว่า อภิปฺปกิรนฺติ ได้แก่ หล่นเกลื่อน
เนือง ๆ คือบ่อย ๆ.
บทว่า ทิพฺพานิ ได้แก่ ที่เกิด ณ นันทโปกขรณี ดอกมณฑารพ
เหล่านั้น มีสีดั่งทอง มีใบประมาณเท่าฉัตรใบไม้. ติดเรณูประมาณทะนานใหญ่
มิใช่ดอกมณฑารพอย่างเดียวเท่านั้นที่เป็นทิพย์ แม้อย่างอื่นก็เป็นทิพย์ เช่น
ดอกปาริฉัตรและดอกทองหลางเป็นต้น บรรจุผอบทองเต็ม อันเทวดาผู้อยู่ที่ขอบ
ปากจักรวาลก็ดี ชั้นไตรทศก็ดี ในพรหมโลกก็ดี นำเข้าไปย่อมตกลงจากอวกาศ.
บทว่า ตถาคตสฺส สรีรํ ความว่า ไม่กระจัดกระจายเสียในระหว่าง
มาโปรยปรายเฉพาะพระสรีระของพระตถาคตด้วยกลีบเกษรและละอองเรณู.
บทว่า ทิพฺพานิปิ จนฺทนจุณณานิ ได้แก่ ผงจันทน์ ที่สำเร็จรูป
ของเหล่าเทวดา. มิใช่ผงจันทน์ที่สำเร็จรูปของเทวดาเท่านั้น เป็นของนาค
สุบรรณและมนุษย์ด้วย. มิใช่ผงจันทน์อย่างเดียวเท่านั้น ยังมีผงคันธชาตอัน
เป็นทิพย์ทั้งหมดเช่น กฤษณาและจันทน์แดงเป็นต้น ผงหรดาลแร่พลวงเงิน
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 05, 2016

Phikhat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 77/345/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ที่ชื่อว่า อผาสุกา (ผู้มุ่งทำลายความผาสุก) เพราะไม่ใคร่ต่อการอยู่เป็นผาสุก
และเพราะใคร่ต่อการอยู่โดยไม่เป็นผาสุก. ที่ชื่อว่า อโยคกฺเขมกามา (ผู้มุ่ง
ทำลายแดนเกษม) เพราะไม่ใคร่ต่อความปลอดภัยอย่างใดอย่างหนึ่ง และเพราะ
ใคร่ต่อภัย ดังนี้. การไปประกอบพร้อมกัน ชื่อว่า สํคติ (ความไปร่วม).
ความมาร่วมกัน ชื่อว่า สมาคโม (ความมาร่วม). ภาวะที่พร้อมกันในการยืน
การนั่งเป็นต้น ชื่อว่า สโมธานํ (ความประชุมร่วม). การทำร่วมกันซึ่งกิจ
ทั้งปวง ชื่อว่า มิสฺสีภาโว (ความเป็นผู้กระทำร่วม).
นี้เป็นโยชนา คือข้อแนะนำด้วยอำนาจแห่งสัตว์.
ส่วนโยชนาด้วยอำนาจแห่งสังขาร พึงถือเอาความตามที่ได้. คำว่า
อยํ วุจฺจติ (นี้เรียกว่า) ความว่า นี้เราเรียกชื่อว่า อัปปิยสัมปโยคทุกข์
อัปปิยสัมปโยคนั้น อนิฏฺฐอาทิผิด สระสโมธานลกฺขโณ มีการประชุมลงซึ่งสิ่งที่ไม่น่า
ปรารถนาเป็นลักษณะ จิตฺตวิฒาฏกรณรโส มีการทำความพิฆาตอาทิผิด อักขระจิตเป็นรส
อนตฺถภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีภาวะที่ไร้ประโยชน์เป็นปัจจุปัฏฐาน อัปปิย-
สัมปโยคทุกข์นั้น ชื่อว่าเป็นธรรมหนึ่งไม่มีโดยอรรถะ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสว่า เป็นทุกข์ เพราะเป็นวัตถุที่ตั้งแห่งทุกข์แม้ทั้ง ๒ อย่างแก่บุคคลผู้
ประกอบด้วยอารมณ์อันไม่เป็นที่รักอย่างเดียว เพราะวัตถุทั้งหลายอันไม่น่า-
ปรารถนาถึงการประชุมลงแล้ว ย่อมยังทุกข์ทางกายให้เกิดขึ้นโดยการแทง
การตัด การผ่าเป็นต้นบ้าง ย่อมยังทุกข์ทางใจให้เกิดขึ้นโดยการเกิดความสะดุ้ง
กลัวบ้าง เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 七月 02, 2016

Bua

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/262/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ด้วยอาการทั้งปวง นี้พึงทราบความต่างกัน ดังต่อไปนี้. ได้ยินว่า จักร
เหล่านั้น ย่อมปรากฏลายดุมตรงกลางพื้นพระบาท. ปรากฏลายเขียนวงกลม
รอบดุม. ที่ปากดุมก็ปรากฏวงกลม. ปรากฏเป็นปากช่อง. ปรากฏเป็นซี่กำ.
ปรากฏเป็นลวดลายกลมที่กำทั้งหลาย. ปรากฏเป็นกง. ปรากฏเป็นกงแก้ว . นี้
มาตามพระบาลีก่อนทีเดียว.
แต่วาระส่วนมากมิได้มาแล้ว. ก็วาระนั้น พึงทราบดังนี้. รูปหอก ๑
รูปโคขวัญ ๑ รูปแว่นส่องพระพักตร์ ๑ รูปสังข์ทักษิณาวัฏฏ์ ๑ รูปดอก
พุดซ้อน ๑ รูปเทริด ๑ รูปปลาทั้งคู่ ๑ รูปเก้าอี้ ๑ รูปปราสาท ๑ รูป
เสาค่าย ๑ รูปเศวตฉัตร ๑ รูปพระขรรค์ ๑ รูปพัดใบตาล ๑ รูปพัด
หางนกยูง ๑ รูปพัดหางนก ๑ รูปกรอบพระพักตร์ ๑ รูปธงชายผ้า ๑ รูป
พวงดอกไม้ ๑ รูปดอกบัวอาทิผิด อักขระเขียว ๑ รูปดอกบัวขาว ๑ รูปดอกบัว
แดง ๑ รูปดอกบัวหลวง ๑ รูปดอกบุณฑริก ๑ รูปหม้อเต็มด้วยน้ำ ๑
รูปถาดเต็มด้วยน้ำ ๑ รูปสมุทร ๑ รูปเขาจักรวาฬ ๑ รูปป่าหิมพานต์ ๑
รูปเขาสิเนรุ ๑ รูปพระจันทร์ ๑ รูปพระอาทิตย์ ๑ รูปหมู่ดาว
นักษัตร ๑ รูปมหาทวีปทั้งสี่ ทวีปน้อย ๒ พัน ๑. โดยที่สุดบริวาร
แห่งจักรลักษณะทั้งสิ้น หมายเอาบริษัทของพระเจ้าจักรพรรดิ.
บทว่า มีพระส้นยาว คือ พระส้นยาว หมายความว่า มีพระส้น
บริบูรณ์. เหมือนอย่างว่าปลายเท้าของคนเหล่าอื่นยาว แข้งอาทิผิด อาณัติกะตั้งอยู่ ณ ที่สุด
ส้นเท้า ส้นย่อมปรากฏดุจถากตั้งไว้ แต่ของพระตถาคตเจ้าไม่เป็นอย่างนั้น .
สำหรับของพระตถาคตเจ้าใน ๔ ส่วน เป็นปลายเท้าเสีย ๒ ส่วน. แข้งตั้งอยู่
ส่วนที่สาม. ในส่วนที่ ๔ ส้นเท้าเป็นเช่นกับลูกกลมทำด้วยผ้ากัมพลแดงดุจหมุน
ติดอยู่ปลายเหล็กแหลมฉะนั้น.
 
พระปิฎกธรรม