星期三, 七月 27, 2016

Mai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/542/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ครั้ง และลมเกิดจากพัดใบตาล. บทว่า เยน จ อสิตํ ปีตํ ขายิตํ สายิตํ สมฺมา-
ปริณามํ คจฺฉติ ความว่า ข้าวเป็นต้นที่กินก็ดี น้ำดื่มเป็นต้นที่ดื่มแล้วก็ดี
แป้งและของเคี้ยวเป็นต้นที่เคี้ยวแล้วก็ดี มะม่วงสุกน้ำผึ้งและน้ำอ้อยเป็นต้น
ที่ลิ้มแล้วก็ดี ย่อมสุกโดยชอบคือย่อมเปลี่ยนเป็นรสเป็นต้นนั้นเอง. ในข้อนี้มี
ความสังเขปดังนี้. แต่คำที่จะพึงกล่าวโดยพิสดาร ทั้งหมดพร้อมด้วยภาวนานัย
ได้กล่าวไว้แล้วในวิสุทธิมรรค. บทว่า หริตนฺตํ ได้แก่ ของเขียวสดนั้นเอง
อธิบายว่า เตโชธาตุ อาศัยหญ้าสดเป็นต้นก็ดับ. บทว่า ปนฺถนฺตํ ได้แก่
ทางใหญ่นั้นเอง. บทว่า เสลนฺตํ ได้แก่ ภูเขา. บทว่า อุทกนฺตํ ได้แก่
น้ำ. บทว่า รมณียํ วา ภูมิภาคํ ได้แก่ ภูมิภาคปราศหญ้าและพุ่มไม้เป็นต้น
ที่ว่างได้แก่ ภูมิภาคที่โล่ง. บทว่า อนาหารา ได้แก่ ไม่มีอาหารคือไม่มี
เชื้อ. ท่านกล่าวความวิการแห่งเตโชธาตุตามปกติไว้ดังนี้. ก็เมื่อเวลาที่โลก
พินาศด้วยเตโชธาตุ เตโชธาตุก็ไหม้อาทิผิด สระแสนโกฏิจักรวาล แม้เพียงขี้เถ้าก็ไม่
เหลืออยู่. บทว่า นหารุททฺทลฺเลน ได้แก่ ด้วยเศษของหนัง. บทว่า อคฺคึ
คเวสนฺติ ความว่า คนทั้งหลายถือเอาเชื้อละเอียดเห็นปานนี้แสวงหาไฟมันได้
ไออุ่นเพียงเล็กน้อยก็โพลงขึ้น. คำที่เหลือแม้ในที่นี้ พึงทราบโดยนัยก่อนแล.
พึงทราบวินิจฉัยในวาโยธาตุนิทเทสดังต่อไปนี้ บทว่า อุทฺธงฺคมา
วาตา ได้แก่ ลมที่พัดขึ้นเบื้องบนอันเป็นไปโดยอาการมีการเรอและสะอึก
เป็นต้น. บทว่า อโธคมา วาตา ได้แก่ ลมอาทิผิด อักขระพัดลงเบื้องต่ำ มีการขับถ่าย
อุจจาระ ปัสสาวะเป็นต้น. บทว่า กุจฺฉิยา วาตา ได้แก่ ลมที่พัดออกนอก
ลำไส้อาทิผิด สระใหญ่เป็นต้น. บทว่า โกฏฺฐาสยา วาตา ได้แก่ ลมภายในลำไส้ใหญ่.
บทว่าอาทิผิด สระ องฺคมงฺคานุสาริโน ได้แก่ ลมที่เกิดจากการคู้เข้าเหยียดออกเป็นต้น
ที่ซ่านไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ในร่างกายทั้งสิ้นตามแนวเส้นเอ็น. บทว่า อสฺสา-
โส ได้แก่ ลมหายใจเข้า. บทว่า ปสฺสาโส ได้แก่ลมหายใจออก. ในข้อนี้มี
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: