Sadaeng
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/237/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทรงเห็นความผิด จึงรับสั่งให้เรียกคนเฝ้าสวนมาตรัสถามว่า บรรพชิตนี้
แม้ในวันอื่น ๆ มาในที่หรือ. คนเฝ้าพระราชอุทยานกราบทูลว่า อย่างนั้น
พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ในวันที่ท่านมาในที่นี้เจ้าพึงบอกเรา.
๒-๓ วันเท่านั้น แม้พระเถระก็มานั่งที่โคนไม้. คนเฝ้าพระราชอุทยาน
เห็นเข้า คิดว่า นี้เป็นบรรณาการใหญ่ของเรา จึงรีบไปกราบทูลพระราชา.
พระราชาเสด็จลุกขึ้น ทรงห้ามเสียงสังข์และบัณเฑาะว์เป็นต้น ได้เสด็จ
ไปยังอาทิผิด พระราชอุทยาน พร้อมด้วยอำมาตย์ผู้มีชื่อเสียงกำจรกำจาย. ด้วย
เหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า อุปสงฺกมิตฺวา.
บทว่า อนิกีฬิตาวิโน กาเมสุ ความว่า ความเล่นสำเริงใดใน
กามทั้งหลาย ผู้มีระดูมิได้สำเริงนั้น อธิบายว่าไม่ประสงค์บริโภคกาม. บทว่า
อทธานญฺจ อาปาเทนฺติ ความว่า ถือประเพณีประพฤติตามประเพณีมานาน.
บทว่า มาตุมตฺตีสุ แปลว่า ปูนมารดา จริงอยู่ คำทั้งหลายนี้ คือ มารดา
พี่สาว ลูกสาว เป็นอารมณ์หนักในโลก. พระเถระเมื่อแสดงอาทิผิด อักขระว่าบุคคลชำระ
จิตที่ผูกพันด้วยอารมณ์อันหนักไม่ได้ จึงกล่าวอย่างนั้นด้วยประการฉะนี้.
ลำดับนั้น พระเถระ เห็นจิตของท้าวเธอไม่ทรงหยั่งอาทิผิด อาณัติกะลงโดยสัญญานั้น จึง
กล่าวกัมมัฏฐานคืออาการ ๓๒ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเพื่อผูกจิตไว้ด้วย
อำนาจมนสิการปฏิกูลสัญญา (ใส่ใจด้วยสำคัญว่าเป็นของปฏิกูล )
บทว่า อภาวิตกายา ได้แก่ ผู้มีกายอันเป็นไปในทวาร ๕ ยังมิ
ได้อบรม. บทว่า เตสํ ตํ ทุกฺกรํ โหติ ความว่า อสุภกรรมฐาน ของ
ผู้ที่ไม่ได้อบรมกายเหล่านั้น เป็นของทำได้ยาก. พระเถระ เมื่อเห็น
จิตของท้าวเธอที่ไม่หยั่งลงด้วยกรรมฐานแล้วนี้ จึงแสดง อินทรียสังวรศีล
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论