星期三, 十一月 30, 2016

Tamni

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 32/494/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พวกชาวกรุงโกสัมพี ฟังข่าวว่า เขาว่าพระผู้เป็นเจ้าสาคตะ
ทรมานอัมพติตถนาคได้แล้ว ต่างคอยการเสด็จมาของอาทิผิด อาณัติกะพระศาสดา
จัดแจงสักการะเป็นอันมาก ถวายพระทศพล ชาวเมืองเหล่านั้น ครั้น
ถวายสักการะอย่างมากแด่พระทศพลแล้ว ก็ตกแต่งน้ำใสสีขาว
(ประเภทสุรา ?) ไว้ในเรือนทุกหลัง ตามคำแนะนำของเหล่าภิกษุ
ฉัพพัคคีย์ (ภิกษุ ๖ รูป) วันรุ่งขึ้น เมื่อพระสาคตเถระเที่ยวบิณฑบาต
ก็พากันถวายน้ำนั้น บ้านละหน่อย ๆ พระเถระถูกผู้คนทั้งหลาย
ขะยั้นขะยอ เพราะยังไม่ได้ทรงบัญญัติสิกขาบท ก็ดื่มทุกเรือนหลังละ
หน่อย ๆ เดินไปไม่ไกลนักก็สิ้นสติล้มลงที่กองขยะ เพราะไม่มีอาหาร
รองท้อง. พระศาสดาเสวยเสร็จแล้ว เสด็จออกไปเห็นท่านพระสาคตะ-
เถระนั้น ก็โปรดให้พาตัวไปพระวิหาร ทรงตำหนิอาทิผิด อักขระแล้วทรงบัญญัติ
สิกขาบท. วันรุ่งขึ้น ท่านได้สติ ฟังเขาเล่าถึงเหตุที่ตนทำแล้ว ก็แสดง
โทษที่ล่วงเกิน ขอให้พระทศพลงดโทษแล้ว เกิดความสสดใจ เจริญ
วิปัสสนาแล้วบรรลุพระอรหัต. เรื่องปรากฏในพระวินัย ดังกล่าวมานี้.
พึงทราบเรื่องพิสดารตามนัยที่มาแล้วในวินัยนั้นนั่นแล ภายหลัง พระ-
ศาสดาประทับนั่งในพระเชตวันมหาวิหาร กำลังทรงสถาปนาพระเถระ
ทั้งหลายไว้ในตำแหน่งทั้งหลายตามลำดับ จึงทรงสถาปนาท่านพระ-
สาคตเถระไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะเป็นยอดของเหล่าภิกษุสาวก ผู้
ฉลาดเข้าเตโชธาตุแล.
จบ อรรถกถาพระสูตรที่ ๑๐
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十一月 27, 2016

Sing

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/365/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า น ปลมฺเภสิ ความว่า ท่านกล่าวสิ่งอาทิผิด ที่ไม่มีว่ามี ดังนี้ ไม่
ลวงเราหรือ.
บทว่า นิคฺโฆโส ความว่า ถ้อยคำสนทนากึกก้อง.
บทว่า มา ภายิ มหาราช ความว่า หมอชีวกคิดว่า พระราชา
พระองค์นี้ไม่รู้จักเรา ถ้าเราไม่ปลอบพระองค์ให้เบาพระทัยว่า ชีวกคนนี้
ไม่ฆ่าผู้อื่น ดังนี้ พึงฉิบหาย จึงทูลปลอบให้มั่นพระทัยว่า อย่าทรง
กลัวเลย พระพุทธเจ้าข้า แล้วจึงทูลว่า น ตํ เทว ดังนี้เป็นต้น.
บทว่า อภิกฺกม ความว่า โปรดเสด็จเข้าไปเถิด อธิบายว่า
จงเข้าไป. ก็เมื่อกล่าวครั้งเดียวจะไม่มั่น ฉะนั้น หมอชีวกจึงรีบกล่าว ๒
๓ ครั้ง.
บทว่า เอเต มณฺฑลมาเล ปทีปา ฌายนฺติ ความว่า หมอ
ชีวกทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ธรรมดากำลังของโจรจะไม่จุดประทีปตั้งไว้
แต่นั่นประทีปที่โรงกลมยังสว่างอยู่ ขอพระองค์จงเสด็จไปตามสัญญาแห่ง
ประทีปนั้นเถิด พระเจ้าข้า.
บทว่า นาคสฺส ภูมิ ความว่า ในที่ใดคนขึ้นช้างอาจไปได้ ที่นี้
ชื่อว่าเป็นพื้นที่ช้างไปได้.
บทว่า นาคา ปจฺโจโรหิตฺวา ความว่า ลงจากช้างที่ซุ้มประตู
ภายนอกที่ประทับ. ก็เดชแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้า แผ่ไปสู่พระสรีระ
ของพระราชา ตลอดเวลาที่ประทับ ณ พื้นที่ประทับ. ในทันใดนั้น
พระเสโทไหลออกจากทั่วพระสรีระของพระราชา. ผ้าทรงได้เป็นเหมือน
บีบน้ำไหล. ความกลัวอย่างมากได้เกิดขึ้นเพราะทรงระลึกถึงความผิดของ
พระองค์ ท้าวเธอไม่อาจเสด็จไปสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าตรงๆ ทรง
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 25, 2016

Duai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/255/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อื่น ๆ มอบบุตรใดไว้เป็นประกัน แล้วยืมทรัพย์บางอย่างไป บุรุษนั้นไม่จัด
ว่าเป็นลูกหนี้. เพราะว่าญาติอื่น ๆ นั้น ไม่เป็นใหญ่ที่จะมอบอาทิผิด อักขระบุรุษนั้นไว้เป็น
ประกันได้, เพราะเหตุนั้น จะให้บุรุษนั้นบวช สมควรอยู่. จะให้บุรุษนอกจาก
นี้บวช. ไม่ควร. แต่ถ้าญาติสายโลหิตทั้งหลายของเขารับใช้หนี้แทนว่า พวก
ข้าพเจ้าจักรับใช้ ขอท่านโปรดให้บวชเถิด หรือว่าชนอื่นบางคนเห็นอาจาร-
สมบัติของเขาแล้วกล่าวว่า ขอท่านจงให้เขาบวชเถิด ข้าพเจ้าจะใช้หนี้แทน
ดังนี้ สมควรให้บวชได้. เมื่อเข้าในที่ใด ให้ฆ่าเสียในที่นั้น ดังนี้ อย่างเดียว
หามิได้ โดยที่แท้ผู้ใดผู้หนึ่งกระทำโจรกรรมหรือความผิดในพระราชาอย่าง
หนักชนิดอื่นแล้วหนีไป และพระราชารับสั่งให้เขียนผู้นั้นลงในหนังสือหรือใบ
ลานว่า ผู้มีชื่อนี้ ใครพบเข้าในที่อาทิผิด อาณัติกะใด พึงจับเสียในที่นั้น หรือว่า พึงตัดอวัยวะ
มีมือและเท้าเป็นต้นของมันเสีย หรือว่าพึงให้นำมาซึ่งสินไหมมีประมาณเท่านี้
ผู้นี้ชื่อผู้ร้ายซึ่งถูกเขียนไว้. ผู้นั้นไม่ควรให้บวช.
ในคำว่า กสาทโต กตทณฺฑกมฺโม นี้ มีวินิจฉัยว่า ผู้ใดไม่ยอม
ทำการมีให้การและยอมรับใช้เป็นต้น จึงถูกลงอาชญา, ผู้นั้นไม่นับว่าผู้ถูกลง
ทัณฑกรรม. ฝ่ายผู้ใดรับเก็บทรัพย์บางอย่าง โดยเป็นส่วย หรือโดยประการ
อื่นแล้วกินเสีย เมื่อไม่สามารถจะใช้คืนให้ จึงถูกเฆี่ยนด้วยหวายว่า นี้แล จง
เป็นสินไหมของเจ้า ผู้นี้ชื่อผู้ถูกเฆี่ยนด้วยหวาย ถูกลงทัณฑกรรม. ก็แลเขา
จะถูกเฆี่ยนด้วยหวายหรือถูกตีด้วยอาทิผิด สระไม้ค้อนเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่งก็ตาม จงยก
ไว้, แผลยังสดอยู่เพียงใด ไม่ควรให้บวชเพียงนั้น. ต่อกระทำแผลทั้งหลายให้
กลับเป็นปกติแล้วจึงควรให้บวช.
อนึ่ง ถ้าผู้ใดถูกเขาทำร้ายด้วยเข่าหรือด้วยศอก หรือด้วยผลมะพร้าว
และก้อนหินเป็นต้นแล้วปล่อยไป และบวมโนในร่างกายของผู้นั้นยังปรากฏอยู่
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十一月 24, 2016

Ko

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/260/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ของเขาจักชอกช้ำ พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรเหล่านี้แล มีปรกติเป็นสุข
มีความประพฤติอาทิผิด อักขระเรียบร้อย ฉันอาหารที่ดี นอนในห้องนอนอันมิดชิด ถ้าเจ้า
อุบาลีจะพึงบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร ด้วยวิธีนี้แหละ เมื่อ
เราทั้งสองล่วงลับไปแล้ว เจ้าอุบาลีก็จะอยู่เป็นสุข และจะไม่ต้องลำบาก.
เด็กชายอุบาลีได้ยินถ้อยคำที่มารดาบิดาสนทนาหารือกัน ดังนี้ จึงเข้า
ไปหาเพื่อนเด็กเหล่านั้น ครั้นแล้วได้พูดชวนว่า มาเถิดพวกเจ้า พวกเราจัก
พากันไปบวชในสำนักพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร.
เด็กชายเหล่านั้นพูดว่า ถ้าเจ้าบวช แม้พวกเราก็จักบวชเหมือนกัน.
เด็กชายเหล่านั้นไม่รอช้า ต่างคนต่างก็เข้าไปหามารดาบิดาของตน ๆ
แล้วขออนุญาตว่า ขอท่านทั้งหลายจงอนุญาตให้ข้าพเจ้า ออกจากเรือนบวช
เป็นบรรพชิตเถิด.
มารดาบิดาของเด็กชายเหล่านั้นก็อาทิผิด อาณัติกะอนุญาตทันที ด้วยคิดอาทิผิด อักขระเห็นว่า เด็ก
เหล่านั้นต่างก็มีฉันทะร่วมกัน มีความมุ่งหมายดีด้วยกัน ทุกคน.
เด็กพวกนั้นเข้าไปหาภิกษุทั้งหลายแล้วขอบรรพชา ภิกษุทั้งหลายให้
พวกเขาบรรพชาอุปสมบท.
ครั้นปัจจุสมัยแห่งราตรี ภิกษุใหม่เหล่านั้น ลุกขึ้นร้องไห้ วิงวอนว่า
ขอท่านทั้งหลายจงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว.
ภิกษุทั้งหลายพูดอย่างนี้ว่า อาวุโสทั้งหลาย จงขอให้ราตรีสว่างก่อน
ถ้าข้าวต้มมี จักได้ดื่ม, ถ้าข้าวสวยมี จักได้ฉัน, ถ้าของเคี้ยวมี จักได้เคี้ยว.
ถ้าข้าวต้มข้าวสวย หรือของเคี้ยวอาทิผิด ไม่มี ต้องเที่ยวบิณฑบาตฉัน ภิกษุใหม่
เหล่านั้นอันภิกษุทั้งหลาย แม้กล่าวอยู่อย่างนี้แล ก็ยังร้องไห้วิงวอนอยู่อย่าง
นั้นแลว่า จงให้ข้าวต้ม จงให้ข้าวสวย จงให้ของเคี้ยว ถ่ายอุจจาระรดบ้าง
ถ่ายปัสสาวะรดบ้าง ซึ่งเสนาสนะ.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十一月 22, 2016

Samana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/232/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความดำริผิด วาจาผิด ความเป็นข้าศึกต่อพระอริยะ กิริยาที่ให้ผู้อื่นสำคัญผิด
โดยไม่ชอบธรรม การยกตน การข่มผู้อื่น ย่อมมี เพราะมิจฉาทิฏฐิเป็นปัจจัย
ด้วยประการฉะนี้.

อปัณณกรรมที่ถือไว้ชั่ว
[๑๑๒] ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ในลัทธิของสมณอาทิผิด อักขระ-
พราหมณ์เหล่านั้น บุรุษผู้รู้แจ้งย่อมเห็นตระหนักชัดว่า ถ้าแลความทำไม่มี
เมื่อเป็นอย่างนี้ท่านบุรุษบุคคลนี้ เมื่อตายไป จักทำตนให้เป็นผู้มีความสวัสดี
ได้ ถ้าแลความทำมีอยู่ เมื่อเป็นอย่างนี้ ท่านบุรุษบุคคลนี้ เมื่อตายไป จัก
เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก อนึ่ง ความทำอย่าได้มีจริง คำของท่าน
สมณพราหมณ์เหล่านั้นจงเป็นคำจริง เมื่อเป็นอย่างนั้น ท่านบุรุษบุคคลนี้
ย่อมถูกวิญญูชนติเตียนได้ในปัจจุบันว่า เป็นบุรุษบุคคลทุศีล มีความเห็นผิด
มีวาทะว่ากรรมที่บุคคลทำอยู่ไม่เป็นอันทำ ถ้าแลความทำมีอยู่จริง ความยึดถือ
ของท่านบุรุษบุคคลนี้ อย่างนี้ เป็นความปราชัยในโลกทั้งสอง คือในปัจจุบัน
วิญญูชนติเตียน เมื่อตายไป จักเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก อปัณณก-
ธรรมนี้ที่บุคคลถือไว้ชั่ว สมาทานชั่วอย่างนี้ย่อมแผ่ไปโดยส่วนเดียว ย่อมละ
เหตุแห่งกุศลเสีย.

ความเห็นที่ไม่เป็นข้าศึกต่อพระอริยะ
[๑๑๓] ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ในลัทธิของสมณ-
พราหมณ์เหล่านั้น สมณพราหมณ์ผู้มีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า
เมื่อบุคคลทำเองหรือใช้ผู้อื่นให้ทำ ตัดเองหรือใช้ผู้อื่นให้ตัด เผาผลาญเอง
หรือใช้ผู้อื่นให้เผาผลาญ ทำสัตว์ให้เศร้าโศกเองหรือใช้ผู้อื่นให้ทำสัตว์ให้
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十一月 20, 2016

Dap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/240/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ไม่เห็น แม้ข้อที่ว่า ท่านสมณพราหมณ์ มีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้
ว่า อรูปพรหมมีอยู่ด้วยอาการทั้งปวง ดังนี้ เราไม่รู้ ส่วนเราเองเล่า เมื่อ
ไม่รู้ เมื่อไม่เห็น จะพึงถือเอาโดยส่วนเดียวแล้วกล่าวว่า สิ่งนี้เท่านั้นจริง
สิ่งอื่นเปล่า ดังนี้ ข้อนั้นพึงเป็นการสมควรแก่เราหามิได้ ถ้าคำของท่านสมณ-
พราหมณ์ที่มีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า อรูปพรหมไม่มีด้วยอาการทั้งปวง
ดังนี้ เป็นคำจริง ข้อที่เราจักเกิดขึ้นในเหล่าเทวดาที่มีรูป สำเร็จด้วยใจ ซึ่ง
ไม่เป็นความผิด นี้เป็นฐานะที่จะมีได้. ถ้าคำของท่านสมณพราหมณ์ที่มีวาทะ
อย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า อรูปพรหมมีอยู่ด้วยอาการทั้งปวง ดังนี้ เป็น
คำจริง ข้อที่เราจักเกิดขึ้นในเหล่าเทวดาที่ไม่มีรูปสำเร็จด้วยสัญญา ซึ่งไม่เป็น
ความผิด นี้เป็นฐานะที่จะมีได้. อนึ่งการถือท่อนไม้ การถือศัสตรา การ
ทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท การกล่าวว่ามึง ๆ การกล่าวส่อเสียด และ
มุสาวาท ซึ่งมีรูปเป็นเหตุ ย่อมปรากฏ แต่ข้อนี้ย่อมไม่มีในอรูปพรหมด้วย
อาการทั้งปวง ดังนี้ บุรุษผู้เป็นวิญญูนั้น ครั้นพิจารณาเห็นดังนี้แล้ว ย่อม
ปฏิบัติเพื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิทแห่งรูปอย่างเดียว.

วาทะว่าความดับอาทิผิด อักขระแห่งภพไม่มี
[๑๒๑] ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย มีสมณพราหมณ์พวก
หนึ่ง มีวาทะอย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า ความดับสนิทแห่งภพ ไม่มีด้วย
อาการทั้งปวง สมณพราหมณ์อีกพวกหนึ่ง มีวาทะเป็นข้าศึกโดยตรงต่อสมณ-
พราหมณ์เหล่านั้น เขากล่าวอย่างนี้ว่า ความดับสนิทแห่งภพมีอยู่ด้วยอาการ
ทั้งปวง. ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ท่านทั้งหลายจะสำคัญความข้อ
นั้นเป็นไฉน สมณพราหมณ์เหล่านี้ มีวาทะเป็นข้าศึกโดยตรงต่อกันและกัน
มิใช่หรือ.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十一月 19, 2016

Banlu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/229/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความอุ่นใจ ไม่สะดุ้งกลัว เพื่ออยู่เป็นสุขแห่งตน และเพื่อหยั่งลง
สู่นิพพาน เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา มีการสะสม
งา ถั่วเขียว ถั่วทอง และอปรัณณชาติไว้มาก เพื่อความอุ่นใจ ไม่สะดุ้ง
กลัว เพื่ออยู่เป็นสุขแห่งชนภายใน และเพื่อป้องกันอันตรายภายนอก
ฉะนั้น.
อริยสาวกบรรลุอาทิผิด สระจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุข
ละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อน ๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติ
บริสุทธิ์อยู่ เพื่อความอุ่นใจ ไม่สะดุ้งกลัว เพื่ออยู่เป็นสุขแห่งตน
และเพื่อหยั่งลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนในปัจจันตนครของพระราชา
มีการสะสมเภสัชไว้มาก คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย
เกลือ เพื่อความอุ่นใจ ไม่สะดุ้งกลัว เพื่ออยู่เป็นสุขแห่งชนภายใน
และป้องกันอันตรายภายนอก ฉะนั้น.
อริยสาวกเป็นผู้มีปกติได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก
ไม่ลำบากซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน
ปัจจุบัน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลใด อริยสาวกประกอบด้วย
สัทธรรม ๗ ประการนี้ และมีปกติได้ตามความปรารถนา ได้
โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่อง
อยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้นแล มารผู้มีบาปก็ทำอันตราย
อริยสาวกไม่ได้.
จบ นครสูตรที่ ๓
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十一月 16, 2016

Patha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 73/222/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า ชินปุตฺตา ได้แก่ สาวกของพระศาสดาทีปังกร. บทว่า เทวา
มนุสฺสา อสุรา จ อภิวาเทตฺวาน ปกฺกมุํ ความว่า ท่านเหล่านี้แม้ทั้ง
หมดมีเทวดาเป็นต้น ทำประทักษิณเรา ๓ ครั้ง บูชาด้วยดอกไม้เป็นต้น ตั้ง
อัญชลีไว้เป็นอย่างดี ไหว้แล้วก็กลับ แลดูบ่อย ๆ แล้วชมด้วยสดุดีนานาประการ
ที่มีอรรถพยัญชนะอันไพเราะแล้วหลีกไป. ปาฐะว่า นรา นาคา จ คนฺธพฺพา
อภิวาเทตฺวาน ปกฺกมุํ ดังนี้ก็มี.
บทว่า ทสฺสนํ เม อติกฺกนฺเต ความว่า เมื่อพระผู้มีพระภาค
เจ้าล่วงทัศนวิสัยของเราไปแล้ว. ปาฐะว่า ชหิเต ทสฺสนูปจาเร ดังนี้ก็มี.
บทว่า สสงฺเฆ ได้แก่ พร้อมกับพระสงฆ์ ชื่อว่า สสังฆะ พร้อมกับพระ-
สงฆ์นั้น. บทว่า สยนา วุฏฺฐหิตฺวา ได้แก่ ลุกขึ้นจากตม อันเป็นที่ ๆ
ตนนอนลงแล้ว. บทว่า ปลฺลงฺกํ อาภุชิํ ความว่า ทำบัลลังก์คือขัดสมาธิ
นั่งเหนือกองดอกไม้. ปาฐะว่า หฏฺโฐ หฏฺเฐน จิตฺเตน อาสนา วุฏฺฐหิํ
ตทา ดังนี้ก็มี. ปาฐะอาทิผิด อักขระนั้น มีอรรถง่าย.
บทว่า ปีติยา จ อภิสฺสนฺโน ได้แก่ อันปีติสัมผัสซาบซ่านแล้ว.
บทว่า วสีภูโต ได้แก่ ถึงความเป็นผู้ชำนาญ. บทว่า ณาเน ได้แก่ รูปาวจร
ฌานและอรูปาวจรฌาน. บทว่า สหสฺสิยมฺหิ แปลว่า หมื่น. บทว่า โลกมฺหิ
ได้แก่ ในโลกธาตุ. บทว่า เม สมา ได้แก่ เสมือนเรา. พระองค์ตรัสโดยไม่
แปลกว่า ผู้ที่เสมอไม่มี บัดนี้เมื่อจะทรงกำหนดความนั้นนั่นแลจึงตรัสว่า ไม่มีผู้
เสมอในอิทธิธรรมทั้งหลาย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อิทธิธมฺเมสุ ความ
ว่า ในอิทธิธรรม ๕. บทว่า ลภิํ แปลว่า ได้แล้ว. บทว่า อีทิสํ สุขํ
ได้แก่ โสมนัสเช่นนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อทรงแสดงว่า ครั้งนั้น สุเมธดาบส ฟังพยากรณ์
ของพระทศพลแล้ว สำคัญความเป็นพระพุทธเจ้าประหนึ่งอยู่ในกำมือแล้วก็มี
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 十一月 14, 2016

Yuk

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 53/226/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระเถระเมื่อจะแสดงถึงกาลนั้นนั่นแหละ โดยสรุป จึงกล่าวคำ
เป็นต้นว่า ปตฺเต กาลมฺหิ ปจฺฉิเม ในกาลภายหลังแต่ตติยสังคายนา
ดังนี้.
ก็ปัจฉิมกาลในคำนั้นเป็นไฉน ? อาจารย์บางพวกตอบว่า ตั้งแต่
ตติยสังคายนามา จัดเป็นปัจฉิมกาล, อาจารย์บางพวกไม่รู้คำนั้นเลย.
จริงอยู่ ยุคแห่งพระศาสนามี ๕ ยุค คือวิมุตติยุค สมาธิยุค ศีลยุค สุตยุคอาทิผิด อักขระ
และทานยุค. บรรดายุคเหล่านั้น ยุคแรกจัดเป็นวิมุตติยุค, เมื่อวิมุตติยุค
นั้น อันตรธานแล้ว สมาธิยุคก็เป็นไป, แม้เมื่อสมาธิยุคนั้น อันตรธาน
แล้ว ศีลยุคก็เป็นไป, แม้เมื่อศีลยุคนั้น อันตรธานแล้ว สุตยุคก็เป็นไป
ทีเดียว. ก็ผู้มีศีลไม่บริสุทธิ์ ประคับอาทิผิด อักขระประคอง ปริยัตติธรรมและพาหุสัจจะ
ให้ดำรงอยู่ได้ โดยอย่างเดียวหรือสองอย่าง เพราะค่าที่คนมุ่งถึงลาภ
เป็นต้น. ก็ในคราวใด ปริยัตติธรรมมีมาติกาเป็นที่สุด ย่อมอันตรธาน
ไปทั้งหมด ตั้งแต่นั้นมา จักเหลือก็เพียงเพศเท่านั้น ในคราวนั้นคน
ทั้งหลายจะพากันรวบรวมเอาทรัพย์ตามมีตามได้แล้ว เสียสละโดยมุ่งให้
ทาน, เล่ากันว่า การปฏิบัตินั้น จัดเป็นสัมมาปฏิบัติครั้งสุดท้ายของคน
เหล่านั้น. บรรดายุคเหล่านั้น ตั้งแต่สุตยุคมา จัดเป็นปัจฉิมกาล, อาจารย์
พวกอื่นกล่าวว่า ตั้งแต่ศีลยุคมา จึงจัดเป็นปัจฉิมกาลก็มี.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุรา อาคจฺฉเต เอตํ ความว่า ภัย
อย่างใหญ่หลวงที่จะทำอันตรายต่อข้อปฏิบัติ ที่เรากล่าวแล้วแก่พวกท่าน
ทั้งหลายนั้น ย่อมมาในอนาคตอย่างนี้ก่อน คือจักมาจนถึงในกาลนั้น
นั่นแล.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十一月 13, 2016

Kan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/393/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ชื่อว่า อวิตฺถนตา. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอาการคือความเบาแห่งขันธ์ทั้ง ๓
เหล่านั้นโดยนัยแรก ตรัสอาการ คือ ความเบาแห่งวิญญาณขันธ์โดยนัยที่ ๒.
ความอ่อน ชื่อว่า มุทุตา คำว่า มทฺทวตา ความว่า ความสนิธ
ความเกลี้ยงเกลา ตรัสเรียกว่า มัททวะ ความเป็นมัททวะนั้น ชื่อว่า มัททวตา.
ภาวะที่ไม่กักขฬะ ชื่อว่า อกักขฬตา. ภาวะที่ไม่กระด้าง ชื่อว่า อกถินตา.
แม้ในนิทเทสนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสว่า อาการ คือ ความอ่อนแห่งขันธ์ ๓
ไว้โดยนัยแรก และของวิญญาณขันธ์โดยนัยหลัง.
ความสำเร็จแห่งการอาทิผิด อักขระงาน ชื่อว่า กัมมัญญตา ความควรแก่การงาน
คือ ความควรแก่การประกอบในการทำกุศล. สองบทที่เหลือท่านเพิ่มมาด้วย
อำนาจพยัญชนะโดยแท้. จริงอยู่ แม้โดยบททั้ง ๒ พระองค์ก็ตรัสอาการ คือ
ความควรแก่การงานของขันธ์ทั้ง ๓ โดยนัยแรก และตรัสอาการ คือ ความควร
แก่การงานแห่งวิญญาณขันธ์โดยนัยหลัง.
ภาวะแห่งความคล่องแคล่ว ชื่อว่า ปคุณตา คือ ความไม่ชักช้า
ความไม่ป่วยไข้. บทที่เหลือเป็นบทที่เพิ่มมาด้วยอำนาจพยัญชนะ. แม้ในนิทเทส
นี้ ก็ตรัสความคล่องแคล่วไม่เป็นไข้นั่นแหละแห่งขันธ์ ๓ โดยนัยแรก ตรัส
ความคล่องแคล่วไม่ป่วยไข้แห่งวิญญาณขันธ์โดยนัยหลัง.
ภาวะแห่งความซื่อตรง ชื่อว่า อุชุตา คือ ความเป็นไปโดยอาการ
อันตรง. ภาวะแห่งขันธ์ ๓ อันตรงและวิญญาณขันธ์อันตรง เรียกว่า อุชุกตา.
ความปฏิเสธแห่งความคดเหมือนมูตรโค ชื่อว่า อชิมหตา (ความคล่องแคล่ว).
บทว่า อวงฺกตา ได้แก่ ปฏิเสธความโค้งเหมือนวงจันทร์. บทว่า อกุฏิลตา
ได้แก่ ปฏิเสธความคดเหมือนปลายงอนไถ. จริงอยู่. บุคคลใดทำบาปแล้วกล่าว
ว่าเราไม่ได้กระทำ บุคคลนั้น ชื่อว่า เป็นผู้คดเหมือนมูตรโค (เยี่ยวโค)
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 11, 2016

Mon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/249/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ศาสตร์เป็นต้น ชื่อสนิฆัณฑุ. เกฏุภะ ได้แก่การกำหนดกิริยาอาการที่เป็น
ศาสตร์สำหรับใช้เป็นเครื่องมือของพวกกวี. ชื่อว่าพร้อมทั้งประเภทอักษร
เพราะพร้อมกับประเภทอักษร. คำว่า ประเภทอักษร ได้แก่ สิกขาและนิรุตติ.
คำว่า มีประวัติศาสตร์เป็นที่ห้า คือมีประวัติศาสตร์ ซึ่งได้แก่เรื่องเก่าแก่
ที่ประกอบด้วยคำเช่นนี้ว่า เป็นอย่างนี้ เล่ากันมาว่าเช่นนี้ เป็นที่ห้าแห่ง
พระเวทที่จัดอาถรรพณเวทเป็นที่สี่เหล่านั้น ฉะนั้น จึงชื่อว่า มีประวัติศาสตร์
เป็นที่ห้า. มีประวัติศาสตร์เป็นที่ห้าแห่งพระเวทเหล่านั้น. ชื่อว่าผู้เข้าใจบท
ฉลาดในไวยากรณ์ เพราะถือเอาหรือแสดงบทและไวยากรณ์ที่นอกเหนือจาก
บทนั้นได้อย่างแจ่มแจ้ง. วิตัณฑวาทศาสตร์ เรียกว่า โลกายตะ. คำว่า
ลักษณมหาบุรุษ ได้แก่ตำราประมาณ ๑๒,๐๐๐ เล่ม ที่แสดงลักษณะบุรุษ
ผู้ยิ่งใหญ่ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น มีบทคาถาประมาณ ๑๖,๐๐๐ บท ที่มีชื่อว่า
พุทธมนต์อาทิผิด อักขระ ซึ่งเป็นเหตุให้รู้ความแตกต่างอันนี้คือ ผู้ประกอบด้วยลักษณะ
เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ด้วยลักษณะนี้ เป็นพระอัคร
สาวกทั้งสองด้วยลักษณะนี้ เป็นพระสาวกผู้ใหญ่ แปดสิบท่าน ด้วยลักษณะ
นี้ เป็นพระพุทธมารดา, เป็นพระพุทธบิดา, เป็นอัครอุปัฏฐาก, เป็นอัคร
อุปัฏฐายิกา, เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ด้วยลักษณะนี้. คำว่า เป็นผู้ชำนาญ
ได้แก่ ผู้ทำให้บริบูรณ์ ไม่หย่อนในคัมภีร์โลกายตะ และตำราทายลักษณะ
มหาบุรุษ อธิบายว่า ได้แก่เป็นผู้ไม่ขาดตกบกพร่อง. ผู้ที่ไม่สามารถจำทรง
ทั้งใจความ และคัมภีร์ได้ ชื่อว่า ผู้ขาดตกบกพร่อง. คำที่จะต้องกล่าวในบท
เป็นต้นว่า ได้ยินแล้วแล ก็ได้กล่าวเสร็จแล้วในสาเลยยกสูตร.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十一月 10, 2016

Yom

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/252/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จึงชื่อว่า พระธรรมราชา. เพราะเป็นใหญ่ในแผ่นดินอันมีทะเลหลวง ๔ เป็น
ขอบเขต จึงชื่อว่า จาตุรนต์ อธิบายว่า เป็นใหญ่ในแผ่นดินที่ประดับด้วย
ทวีปทั้งสี่ ซึ่งมีสมุทรทั้ง ๔ ทิศเป็นที่สุด. เพราะทรงชำนะข้าศึกมีความโกรธ
เป็นต้นในภายใน และพระราชาทั้งหมดในภายนอก จึงชื่อว่า ผู้ชำนะพิเศษ.
คำว่า ถึงความมั่นคงในชนบท ความว่า ถึงความแน่นอน ความมั่นคงใน
ชนบท ไม่มีใครทำให้กำเริบได้ อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าทรงถึงความมั่นคงใน
ชนบท เพราะทรงมีชนบทที่ถึงความมั่นคง ไม่ต้องทรงมีความขวนขวายยินดี
ในการงานของพระองค์ ไม่หวั่นไหว ไม่คลอนแคลนในชนบทนั้น. บทว่า
อย่างไรนี้ เป็นคำสำหรับลงแทรกเข้ามา. ความว่า แก้วเหล่านั้น ของพระเจ้า
จักรพรรดินั้น คืออะไรบ้าง. ในคำว่า จักรแก้ว เป็นต้น ชื่อว่าจักรแก้ว
เพราะสิ่งนั้นเป็นจักร และชื่อว่าเป็นแก้ว เพราะอรรถว่า ให้ความยินดี. ในทุก
บท ก็เช่นนี้ทั้งนั้น.
ก็ในบรรดารัตนะเหล่านี้ พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงชนะแว่นแคว้นที่ยัง
ไม่ชนะด้วยจักรรัตนะ. ทรงเที่ยวไปตามความสุขสะดวกในแว่นแคว้นด้วย
ช้างแก้ว และม้าแก้ว ทรงรักษาแว่นแคว้นได้ด้วยปริณายกแก้ว. ทรงเสวย
อุปโภคสุขด้วยรัตนะนอกนี้. ก็การประกอบด้วยอำนาจแห่งความอุสสาหะ
แห่งพระเจ้าจักรพรรดินั้น ย่อมบริบูรณ์ดีด้วยรัตนะที่ ๑ ความประกอบด้วย
ศักดิ์แห่งเจ้า ย่อมบริบูรณ์ดีด้วยช้างแก้ว ม้าแก้ว และคหบดีแก้ว การ
ประกอบด้วยอำนาจแห่งความฉลาด ย่อมบริบูรณ์ดีด้วยปริณายกแก้วสุดท้าย.
ผลแห่งการประกอบด้วยอำนาจสามประการ ย่อมอาทิผิด อักขระบริบูรณ์ดีด้วยนางแก้ว และ
แก้วมณี. พระเจ้าจักรพรรดินั้น ทรงเสวยความสุขในการใช้สอยด้วยนางแก้ว
และแก้วมณี. ทรงเสวยอิสริยสุขด้วยรัตนะนอกนี้. อนึ่ง รัตนะ ๓ ข้างต้นของ
พระเจ้าจักรพรรดินั้น ย่อมสำเร็จด้วยอานุภาพแห่งกรรมอันกุศลมูลคือ อโทสะ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十一月 06, 2016

Bandit

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 61/219/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระบรมศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว จึงตรัสว่า
โปราณกบัณฑิตอาทิผิด อักขระทั้งหลาย ละนาคสมบัติแล้ว อยู่รักษาอุโบสถศีล ด้วยอาการ
อย่างนี้ แล้วทรงประชุมชาดกว่า หมองูในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระเทวทัต
ในบัดนี้ นางนาคกัญญาสุมนาเทวี ได้มาเป็นราหุลมารดา พระเจ้าอุคคเสนราช
ได้มาเป็นพระสารีบุตร ส่วนจัมเปยยนาคราช ได้มาเป็นเราผู้ตถาคตฉะนี้แล.
จบอรรถกถาจัมเปยยชาดก

๑๑. มหาปโลภนชาดก

ว่าด้วยหญิงเป็นมลทินของพรหมจรรย์

[๒๒๐๘] เทพบุตรผู้มีฤทธิ์มาก จุติจากพรหม-
โลกแล้ว มาเกิดเป็นพระโอรสของพระเจ้ากาสี ผู้ทรง
ดำรงอยู่ในราชสมบัติ อันเพรียบพร้อมด้วยสรรพกาม.
ความใคร่ก็ดี ความสำคัญในกามก็ดี ไม่มีใน
พรหมโลกเลย พระราชกุมารนั้น จึงทรงรังเกียจกาม
ทั้งหลาย ด้วยฌานสัญญาอันบังเกิดในพรหมโลก
นั้นเอง.
พระราชบิดา ตรัสสั่งให้สร้างฌานาคารไว้ใน
ภายในพระราชฐาน สำหรับพระราชกุมารนั้นทรง
หลีกเร้น บำเพ็ญฌานในอาคารนั้น เพียงพระองค์เดียว.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十一月 05, 2016

Anumothana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 43/244/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระศาสดาทรงบอกอุบายบรรเทากินจุ
ในกาลจบเทศนา พระศาสดาได้ตรัสพระคาถานี้ด้วยสามารถอุปการะ
แก่พระราชาว่า:-
“ คนผู้มีสติทุกเมื่อ รู้จักประมาณในโภชนะที่ได้
แล้วนั้น ย่อมมีโรคภัยไข้เจ็บน้อย แก่ช้า อายุยืน.”
ดังนี้แล้ว โปรดให้อุตตรมาณพเรียนไว้แล้ว ทรงแนะอุบายว่า “ เธอ
พึงกล่าวคาถานี้เฉพาะในเวลาที่พระราชาเสวย, และพึงให้พระราชาทรง
ลดโภชนะลงด้วยอุบายนี้,” เขาได้กระทำเช่นนี้.
สมัยต่อมา พระราชาทรงกระปรี้กระเปร่า มีพระสรีระเบา ทรงถึง
ความสำราญ เพราะความที่ทรงมีพระกระยาหารทะนานหนึ่งเป็นอย่างยิ่ง
ทรงมีความคุ้นเคยบังเกิดขึ้นในพระศาสดาแล้ว ทรงให้อสทิสทานเป็นไป
๗ วัน. ในเพราะทรงอนุโมทนาอาทิผิด สระทาน มหาชนซึ่งมาประชุม (ณ ที่นั้น)
บรรลุคุณวิเศษใหญ่แล้ว ดังนี้แล.
เรื่องพระเจ้าปเสนทิโกศล จบ.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 04, 2016

Samat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/436/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เมื่อกระทำด้วยมือของตนก็ดี เมื่อใช้ให้ผู้อื่นกระทำก็ดี ก็ย่อมการทำด้วยกุศลจิต
๘ ดวงเหล่านี้ ดวงใดดวงหนึ่งเหมือนกัน. แต่การกระทำด้วยความรู้ ย่อม
ประกอบด้วยญาณ ๔ ดวง. การกระทำด้วยความไม่รู้ ย่อมไม่ประกอบด้วย
ญาณ ๔ ดวง
ในฐานะนี้แม้อื่นอีก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถือเอา ทักขิณา-
วิสุทธิ ๔ อย่าง คือ ความที่ปัจจัยทั้งหลายเกิดขึ้นโดยธรรม ( ธัมมิกะ) ๑
ความที่เจตนามีกำลังมาก (เจตนามหัตตะ) ๑ วัตถุสมบัติ ๑ ความเป็นผู้มากยิ่ง
ด้วยคุณ (คุณาติเรกตา) ๑.
บรรดาทักขิณาวิสุทธิ ๔ อย่างเหล่านั้น ปัจจัยทั้งหลายที่เกิดขึ้นโดย
ชอบธรรม ชื่อว่า ธัมมิกะ. ก็เมื่ออาทิผิด อาณัติกะบุคคลเชื่อมั่นแน่วแน่แล้วให้อยู่ ชื่อว่า
เจตนามหัตตะ. ความเป็นแห่งพระขีณาเสพ ชื่อว่า วัตถุสมบัติ. ความที่
พระขีณาสพนั่นแหละออกจากนิโรธสมาบัติ ชื่อว่า คุณาติเรกตา. เมื่อบุคคล
สามารถประมวลทักขิณาวิสุทธิ ๔ เหล่านั้นมาแล้วถวายอยู่ กามาวจรกุศลย่อม
ให้วิบากในอัตภาพนี้โดยแท้ ดุจกามาวจรกุศลที่ให้วิบากแก่ปุณณกเศรษฐี นาย
กาลวลิยะ และนายสุมนมาลาการเป็นต้น.
ก็เมื่อว่าโดยย่อ กามาวจรกุศลจิตนั้นแม้ทั้งหมด ชื่อว่า เป็นอย่างเดียว
เท่านั้น ด้วยอรรถว่าจิตเป็นสภาพวิจิตร เพราะทำให้วิจิตร. ว่าด้วยอำนาจ
แห่งเวทนาเป็น ๒ อย่าง คือ สหรคตด้วยโสมนัส และสหรคตด้วยอุเบกขา.
อสังขาริกมหาจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัส เป็นญาณสัมปยุต และอสังขาริกมหาจิต
ที่สหรคตด้วยอุเบกขา เป็นญาณสัมปยุต เป็น ๔ อย่าง ด้วยสามารถอาทิผิด อักขระแห่งการ
แสดงจำแนกญาณ ชื่อว่า เป็นอย่างเดียวเท่านั้น เพราะอรรถว่าเป็นญาณ
สัมปยุต และเพราะอรรถว่าเป็นอสังขาริก. สสังขาริกที่เป็นญาณสัมปยุต
 
พระปิฎกธรรม