Khio
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/206/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประมาณ ๙๐๐ โยชน์ ฝาข้างหนึ่ง ๆ ประมาณ ๘๑ โยชน์. เปลวไฟนั้นตั้งขึ้น
ในทิศบูรพาจดฝาทิศประฉิมทะลุฝานั้นไปข้างหน้า ๑๐๐ โยชน์. แม้ในทิศ
ที่เหลือ ก็มีนัยนี้แล. ด้วยประการฉะนี้ โดยส่วนยาวและส่วนกว้าง ด้วยที่สุด
ของเปลวไฟ มีประมาณ ๓๑๘ โยชน์. แต่โดยรอบ ๆ มีประมาณ ๙๕๔ โยชน์.
ส่วนโดยรอบกับอุสสุทประมาณหมื่นโยชน์. ในบทว่า อุพฺภตํ ตาทิสเมว โหติ
นี้ ความว่า ไม่สามารถจะยกเท้าที่เหยียบจนถึงกระดูกให้มั่นคงได้. ก็ในบทนี้
มีอธิบายดังนี้ ถูกเผาไหม้ทั้งข้างล่างข้างบน. ด้วยประการฉะนี้ ในเวลาเหยียบ
ปรากฏถูกเปลวไฟเผาไหม้ในเวลายกขึ้น ก็เป็นเช่นนั้น . เพราะฉะนั้นท่านจึง
กล่าวอย่างนี้. บทว่า พหุสมฺปตฺโต คือถึงหลายแสนปี
ถามว่า เพราะเหตุไร นรกนี้จึงชื่อว่า อเวจี. ตอบว่า ท่านเรียก
ระหว่างว่าคลื่น. ในนรกนั้น ไม่มีระหว่างของเปลวไฟของสัตว์หรือของทุกข์
เพราะฉะนั้น นรกนั้น จึงชื่อว่า อเวจี. เปลวไฟตั้งขึ้นแต่อาทิผิด อักขระฝาด้านทิศบูรพาของ
นรกนั้น พลุ่งไป ๑๐๐ โยชน์ ทะลุฝาไปข้างหน้า ๑๐๐ โยชน์. แม้ในทิศที่เหลือ
ก็มีนัยนี้แล. เทวทัตเกิดในท่ามกลางแห่งเปลวไฟทั้ง ๖ เหล่านี้. เทวทัตมี
อัตภาพประมาณ ๑๐๐ โยชน์. เท้าทั้งสองเข้าไปสู่โลหะแผ่นดินถึงข้อเท้า
มือทั้งสองเข้าไปสู่ฝาโลหะถึงข้อมือ. ศีรษะจดหลังคาโลหะถึงกระดูกคิ้วอาทิผิด อักขระ. หลาว
โลหะอันหนึ่งเข้าไปโดยส่วนล่างทะลุกายไปจดหลังคา. หลาวออกจากฝาด้านทิศ
ปราจีนทะลุหัวใจ เข้าไปฝาด้านทิศประฉิม หลาวออกจากฝาด้านทิศอุดร
ทะลุซี่โครงไปจดฝาด้านทิศทักษิณ เทวทัต เป็นเช่นนี้ เพราะผลกรรมที่ว่า
เทวทัตหมกไหม้อยู่เพราะผิดในพระตถาคตผู้ไม่หวั่นไหว. ด้วยประการฉะนี้
นรกชื่อว่า อเวจี เพราะเปลวไฟไม่หยุดยั้ง. ในภายในนรกนั้น ในที่ประมาณ
๑๐๐ โยชน์. สัตว์ยัดเหยียดกันเหมือนแป้งที่เขายัดใส่ไว้ในทะนาน ไม่ควร
กล่าวว่า ในที่นี้ มีสัตว์ ในที่นี้ไม่มี. สัตว์เดิน ยืน นั่ง และนอนไม่มีที่สุด.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论