星期三, 八月 29, 2018

Anulom

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 86/175/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระภาคเจ้าทรงย่อไว้ ก็ผู้ศึกษาพึงเทียบเคียงด้วยอำนาจการกำหนดที่มีได้เหล่า
นี้เอง แล้วทราบอนุโลมอาทิผิด อักขระปัจจนียนัย และปัจจนียานุโลนัยเถิด.
สหชาตวาระ มีคติอย่างเดียวกับ ปัจจยวาระ นิสสยวาระ สัง-
สัฏฐวาระ และสัมปยุตตวาระ ย่อมกำหนดตามบาลีนั่นเอง.
พึงทราบวินิจฉัยใน ปัญหาวาระ ต่อไป. สองบทว่า กุสลากุสเล
นิรุทฺเธ ความว่า เมื่อกุศลอันเป็นไปด้วยอำนาจวิปัสสนา และเมื่ออกุศล
อันเป็นไปด้วยอำนาจความกำหนัดเป็นต้นนี้ดับไปแล้ว. คำว่า วิปาโก ตทา-
รมฺมณตา อุปฺปชฺชติ ความว่า กามาวจรวิบากย่อมเกิดขึ้นโดยเป็นตทารัมมณะ
ส่วนอาจารย์เหล่าใดกล่าวว่า ในที่สุดแห่งวิปัสสนาชวนะ และ
วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต อุทธัจจสัมปยุตตจิตไม่มีตทารัมมณะ อาจารย์
เหล่านั้นพึงถูกคัดค้านด้วยพระบาลีนี้. คำว่า อากาสานญฺจายนกุสลํ
วิญฺญาณญฺจายตนกิริยสฺส อารมฺมณปจฺจเยน ปจฺจโย นี้ ท่านกล่าว
ไว้ด้วยอำนาจแห่งบุคคลผู้บรรลุพระอรหัต แล้วเข้าสมาบัติที่ไม่เคยเข้าโดย
ปฏิโลม. ในวิสัชนาทั้งปวง ผู้ศึกษาพิจารณาบาลีให้ดีแล้ว พึงทราบเนื้อความ
โดยอุบายนี้.
แม้ในคำว่า เหตุยา สตฺต อารมฺมเณ นว อธิปติยา ทส เป็น
ต้น ผู้ศึกษาพึงทราบด้วยอำนาจแห่งสหชาตาธิปติปัจจัย อารัมมณาธิปติปัจจัย
สหชาตนิสสยปัจจัย ปุเรชาตนิสสยปัจจัย อนันตรูปนิสสยปัจจัย อารัมมณู-
ปนิสสยปัจจัย ปกตูปนิสสยปัจจัย สหชาตวิปปยุตตปัจจัย และปุเรชาตวิปป-
ยุตตปัจจัย เพราะฉะนั้นในปัจจัยใด ๆ ได้วิสัชนาจำนวนเท่าใด โดยประการ
ใด ๆ ผู้ศึกษาพึงกำหนดวิสัชนาเหล่านั้นทั้งหมดในปัจจัยนั้น ๆ โดยประการ
นั้น ๆ. อนึ่ง วิธีทั้งหมดคือการยกวาระด้วยอำนาจอนุโลมในปัจจนียนัยเป็น
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: