turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 46/217/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ต้นทองหลางดุจต้นปาริฉัตรในสวรรค์ ซึ่งมีคาคบสะพรั่งด้วยดอก สล้างด้วย
ใบ ใกล้พระทวารแห่งพระราชอุทยานอาทิผิด อักขระ จึงทรงเด็ดเอาดอกหนึ่งแล้ว เสด็จ
เข้าสู่พระราชอุทยาน แต่นั้น อำมาตย์แม้คนหนึ่ง คิดว่า พระราชา
ทรงเด็ดเอาดอกงาม จึงยืนขึ้นบนคอช้างนั่นแล เด็ดเอาดอกหนึ่ง. โดยอุบาย
นั่นเทียว พลกายทั้งหมด จึงเด็ดเอาบ้าง ผู้ไม่ได้ดอก ก็เด็ดเอาแม้ซึ่งใบ
ต้นไม้นั้นจึงปราศจากใบและดอก เหลือแต่ลำต้นเท่านั้น.
ในสมัยเย็น พระราชาเสด็จออกจากพระราชอุทยาน ทรงเห็นต้นไม้
นั้น ทรงพระราชดำริอยู่ว่า ต้นไม้นี้ใครกระทำหรือ ในเวลาเรามา ก็สะพรั่ง
ด้วยดอกสวยงามเป็นเช่นกับแก้วประพาฬ ในระหว่างกิ่งซึ่งมีสีดุจแก้วมณี บัดนี้
กลายเป็นต้นไม้ปราศจากใบและดอกเสียแล้ว ทรงเห็นต้นไม้ไม่ผลิดอกมีใบ
เหลืองหล่นเกลื่อนกล่น ในที่ใกล้ต้นไม้นั้นแล ก็ครั้นทรงเห็นแล้ว พระองค์
ทรงพระราชดำริดังนี้ว่า ต้นไม้นี้ เป็นที่ตั้งแห่งความโลภของชนมาก เพราะมี
กิ่งสะพรั่งด้วยดอก เพราะเหตุนั้น จึงถึงความย่อยยับเพียงชั่วครู่เท่านั้น ส่วน
ต้นไม้อื่นนี้ คงดำรงอยู่เหมือนเดิม เพราะไม่เป็นที่ตั้งแห่งความโลภ ราชสมบัติ
แม้นี้ พึงเป็นที่ตั้งแห่งความโลภ เหมือนต้นไม้ที่มีดอก ส่วนความเป็นภิกษุ
ไม่พึงเป็นที่ตั้งแห่งความโลภ เพราะฉะนั้น ราชสมบัติแม้นี้ ยังไม่ถูกแย่งชิง
เหมือนต้นไม้นี้ตราบใด เราพึงเป็นผู้ปกปิดด้วยผ้ากาสาวะ ดุจต้นทองหลาง
อื่นนี้ เกลื่อนกล่นด้วยใบเหลืองแล้ว บวชตราบนั้น พระราชานั้นทรงสละราช-
สมบัติ ทรงผนวช เจริญวิปัสสนาอยู่ ทรงการทำให้แจ้ง ซึ่งปัจเจกโพธิญาณ
แล้วตรัสอุทานคาถานี้ว่า
โอหารยิตฺวา คิหิพฺยญฺชนานิ
สญฺฉินฺนปตฺโต ยถา ปาริฉตฺโต
กาสายวตฺโถ อภินิกฺขมิตฺวา
เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 71/221/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โอปวุยหเถราปทานที่ ๕ (๕๕)๑
ว่าด้วยผลแห่งการถวายม้าอาชาไนย
[๕๗] เราได้ถวายม้าอาทิผิด อาชาไนยแด่พระพุทธเจ้า พระนามว่าปทุ-
มุตตระ ครั้นมอบถวายในพระพุทธเจ้าแล้ว ได้กลับไปเรือน
ของตน พระอัครสาวกของพระศาสดามีนามชื่อว่าเทวิล ผู้เป็น
ทายาทแห่งธรรมอันประเสริฐ ได้มาสู่สำนักของเรา (กล่าวว่า)
พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้นำประโยชน์ทั้งปวง ผู้อาชาไนย
ไม่ทรงหวั่นไหว พระองค์ผู้มีจักษุทรงทราบความดำริของท่าน
จึงอาทิผิด สระทรงรับไว้.
เราจึงได้ตีราคาม้าสินธพซึ่งมีกำลังวิ่งเร็วดังลม เป็นพาหนะ
เร็ว แล้วได้ถวายของที่ควรเท่าราคาม้า แด่พระพุทธเจ้าพระ-
นามว่าปทุมุตตระ เราเข้าถึงกำเนิดใด ๆ คือความเป็นเทวดา
หรือมนุษย์ ม้าอาชาไนยอันมีกำลังวิ่งเร็วดังลม เป็นที่ยินดี
ย่อมเกิดแก่เรา.
(เราดำริว่า) ชนเหล่าใดได้อุปสมบท ชนเหล่านั้นได้ดี
แล้วหนอ เราพึงเข้าไปเฝ้าบ่อย ๆ ถ้าพระพุทธเจ้ามีในโลก.
เราได้เป็นพระราชาผู้มีพละมาก ครอบครองแผ่นดินมี
สมุทรสี่เป็นที่สุด เป็นใหญ่แห่งชนชาวชมพูทวีป ๒๘ ครั้ง.
ภพที่สุดย่อมเป็นไปแก่เรานี้เป็นครั้งหลังสุด เราละความ
ชนะและความแพ้แล้ว ได้ถึงฐานะอันไม่หวั่นไหว.
ในกัปที่ ๓,๕๐๐ ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิผู้เป็นกษัตริย์
มีเดชมาก ทรงสมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ มีพละมาก.
๑. อรรถกถาอาทิผิด อักขระเป็น โอปวัยหเถราปาน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 21/63/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 24/226/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เท้าหน้า ๒ เท้าไว้ที่หนึ่ง วาง ๒ เท้าหลังไว้ที่หนึ่ง แล้วเอาหางใส่ไว้ระหว่าง
ขาอ่อน กำหนดโอกาสที่วางเท้าหน้า เท้าหลังและหางไว้ แล้ววางศีรษะไว้
บนเท้าหน้าทั้งสองแล้วนอน ครั้นอาทิผิด สระนอนแม้ทั้งวัน เมื่อตื่นก็ไม่ตกใจตื่น คือว่า
ยกศีรษะขึ้นกำหนดโอกาสที่วางเท้าหน้าเป็นต้น ถ้าอะไร ๆ ตั้งผิดไป ก็จะไม่
มีใจเป็นของ ๆ ตนจะเสียใจว่า เหตุนี้ ไม่สมควรแก่ชาติของท่าน (ของตน)
ทั้งไม่สมควรแก่ความเป็นผู้กล้าหาญ ดังนี้ ย่อมนอนเหมือนอย่างนั้น ไม่ยอม
ไปหาอาหาร ก็แต่เมื่ออวัยวะมีเท้าหน้าเป็นต้นตั้งไว้เรียบร้อย ก็จะมีใจร่าเริงว่า
เหตุนั้น สมควรแก่ชาติของท่าน และสมควรแก่ความเป็นผู้กล้าหาญ ลุกขึ้น
บิดกายแบบราชสีห์ สะบัดขนสร้อยคอบันลือสีหนาทแล้วก็ออกไปโคจร (หา
อาหาร).
การนอนในฌานที่ ๔ ตรัสเรียกว่า ตถาคตไสยา. ในการนอนทั้ง ๔
นั้น การนอนดังสีหะมาในสูตรนี้. จริงอยู่ การนอนนี้ ชื่อว่า การนอนอัน
อุดม เพราะความที่การนอนนั้นเป็นอิริยาบถอันมีอำนาจมาก. บทว่า ปาเท ปทํ
ได้แก่ วางเท้าซ้ายบนเท้าขวา. บทว่า อจฺจาธาย แปลว่า ซ้อนเท้า ได้แก่
เหลื่อมเท้ากันหน่อยหนึ่ง เพราะว่า ข้อเท้ากระทบกับข้อเท้า เข่ากระทบกับเข่า
เวทนาย่อมเกิดบ่อย ๆ จิตก็จะไม่ตั้งมั่น การนอนก็ไม่ผาสุก คือว่า การนอน
ย่อมไม่ติดต่อกัน การเหลื่อมเท้าแล้ววางอย่างนี้ เวทนาย่อมไม่เกิด จิตย่อมตั้ง
มั่น เพราะฉะนั้น จึงนอนอย่างนี้. บทว่า สโต สมฺปชาโน ได้แก่ มีสติ-
สัมปชัญญะกำหนดในการนอน. ก็บทว่า อุฏฺฐานสญฺญํ แปลว่า มีความ
สำคัญในการที่จะลุกขึ้นนี้ ท่านไม่ได้กล่าวไว้ในที่นี้. ก็การสำเร็จสีหไสยาของ
พระตถาคตนั้น เป็นการนอนเพราะประชวร.
ครั้งนั้นแล เมื่อปฐมยามล่วงไปแล้ว พวกเทวดาสตุลลปกายิกาเจ็ดร้อย
มีวรรณะงามยังสวนมัททกุจฉิทั้งสิ้นให้สว่าง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
ครั้นแล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วได้ยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 83/206/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เนื่องด้วยวิจิกิจฉานุสัย ปฏิฆานุสัย และทิฏฐานุสัย จากที่นั้น แต่
บุคคลนั้นไม่ใช่มีความนอนเนื่องอยู่ด้วยกามราคานุสัย และมานานุสัย
จากที่นั้น ฯ ล ฯ
จบ กามราคานุสย - ปฏิฆานุสย - มานานุสย - ทิฏฐานุสยมูละ
วิจิกิจฉานุสยมูลี
กามราคานุสย - ปฏิฆานุสย - มานานุสย - ทิฏาฐานุสยมูล จบ
จตุกกมูลกะ จบ
กามราคานุสย - ปฏิฆานุสย - มานานุสย - ทิฏฐานุสย -
วิจิกิจฉานุสยมูล
ปัญจกมูลกะ - กามราคานุสย - ปฏิฆานุสย - มานานุสย - ทิฏฐา-
นุสย - วิจิกิจฉานุสยมูละ ภวราคานุสยมูลี :-
[๑๓๑๙] บุคคลใดมีความนอนเนื่องอยู่ด้วยกามราคานุสัย ปฏิ-
ฆานุสัย มานานุสัย ทิฏฐานุสัย และวิจิกิจฉานุสัย จากที่ใด, บุคคล
นั้น ก็มีความนอนเนื่องอยู่ด้วยภวราคานุสัย จากที่นั้น ใช่ไหม ?
ไม่มี.
ก็หรือว่า บุคคลใดมีความนอนเนื่องอยู่ด้วยภวราคานุสัย จาก
ที่ใด, บุคคลนั้น ก็มีความนอนเนื่องอยู่ด้วยกามราคานุสัย ปฏิฆานุสัย
มานานุสัย ทิฏฐานุสัย และวิจิกิจฉาอาทิผิด อักขระนุสัย จากที่นั้น ใช่ไหม ?
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/197/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สัญญานี้ควรเป็นทั้งบริกัมมสัญญา ทั้งอุปจารสัญญา ทั้งอัปปนาสัญญา,
แม้สัญญาที่เกิดว่า “สีเขียว สีเขียว” ก็ควรเหมือนกัน. แม้ในสิ่งทั้งหลาย
มีสีเหลืองเป็นต้น ก็มีนัย (ความหมายอย่างเดียวกัน) นี้เหมือนกัน
แม้ในที่นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจำแนกแสดงเฉพาะปัจจัตตลักษณะ
ของสัญญา ซึ่งมีการจำได้หมายรู้เป็นลักษณะ.
สังขาร
บทว่า รูปํ รูปตฺตาย สงฺขตํ อภิสงฺขโรนฺติ ความว่า แม่ครัว
หุงต้มยาคูอาทิผิด อักขระ ก็เพื่อให้เป็นยาคู ปรุงขนมก็เพื่อให้เป็นขนมนั่นเอง ฉันใด
สังขารทั้งหลายก็ฉันนั้น ปรุงแต่ง คือประมวลมา ได้แก่รวบรวมไว้.
อธิบายว่า ให้สำเร็จซึ่งรูปนั้นเอง ที่ได้นามว่าสังขตะ เพราะปัจจัย
ทั้งหลายมาประชุมกันปรุงแต่ง เพื่อความเป็นรูป คือเพื่อความเป็นรูป
นั้น โดยประการที่สิ่งที่ถูกปรุงแต่ง จะชื่อว่าเป็นรูปได้. แม้ในเวทนา
ทั้งหลาย ก็มีนัย (ความหมายอย่างเดียวกัน) นี้แล. ก็ในตอนที่ว่าด้วย
สังขารนี้ มีความย่อดังนี้ :-
สังขารทั้งหลาย ย่อมปรุงแต่ง คือ ยังรูปที่เกิดพร้อมกับตน
หรือธรรมทั้งหลายมีเวทนาเป็นต้น ที่สัมปยุตกันให้บังเกิด แม้ในที่นี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงจำแนกแสดงเฉพาะปัจจัตตลักษณะของ
สังขารซึ่งมีความตั้งใจเป็นลักษณะด้วยประการฉะนี้.
วิญญาณ
บทว่า อมฺพิลมฺปิ วิชานาติ ความว่า ย่อมรู้รสเปรี้ยวของ
ผลมะม่วง ผลมะกอก และผลมะนาว เป็นต้น ว่าเป็นรสเปรี้ยว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/226/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ผู้ใดดำลงแล้ว ย่อมระงับความกระวนกระวาย
และความร้อน ย่อมให้ความยินดีและปีติ ฉัน
ใด. ในกาลเมื่อเราเข้าไปยังไฟที่ลุกโพลง ก็
ฉันนั้นเหมือนกัน ความกระวนกระวายทั้งปวง
ย่อมระงับ ดังดำลงในน้ำเย็นฉะนั้น.
ในบทเหล่านั้น บทว่า มม สงฺกปฺปมญฺญาย คือท้าวสักกะทรง
ทราบความปริวิตก มีประการดังอาทิผิด อักขระกล่าวแล้วในก่อน. บทว่า พราหมณวณฺณินา
คืออัตภาพเป็นรูปพราหมณ์. บทว่า อาสยํ คือพุ่มไม้เป็นที่อยู่. บทว่า
สนฺตุฏฺโฐ คือยินดีโดยส่วนทั้งปวงอย่างสม่ำเสมอ. บทว่า ฆาสเหตุ คือ
เพราะเหตุแห่งอาหาร. บทว่า อทินฺนปุพฺพํ คืออันอาทิผิด อักขระใคร ๆ ที่มิใช่พระโพธิ-
สัตว์ไม่เคยให้. บทว่า ทานวรํ คือทานอันอุดม. สสปัณฑิตกล่าวว่า วันนี้
เราจักให้แก่ท่าน. ท่านผู้ประกอบด้วยศีลคุณ การเบียดเบียนผู้อื่นไม่สมควร
แก่ท่าน บัดนี้เพื่อจะเปลื้องพราหมณ์ออกจากการฆ่าสัตว์ แล้วทำตนให้
สมควรแก่การบริโภคของพราหมณ์นั้นแล้วให้ จึงกล่าวคำมีอาทิว่า เอหิ
อคฺคึ ปทีเปหิ ท่านจงก่อไฟขึ้น.
ในบทเหล่านั้น บทว่า อหํ ปจิสฺสมตฺตานํ เราจักย่างตัวของเรา
คือเมื่อท่านทำห้องอันเต็มด้วยถ่านอาทิผิด อักขระเพลิงแล้วเราจะโดดย่างตัวของเรา. บทว่า
ปกฺกํ ตฺวํ ภกฺขยิสฺสสิ คือ ท่านจะได้กินเนื้อที่สุกเช่นนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 87/205/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๙๙๔] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๕] ๓. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรมอาทิผิด ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๙๗] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๙๘] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจอาทิผิด อักขระของอุป-
นิสสยปัจจัย.
[๙๙๙] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/400/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แล้ว ฯลฯ นี้เป็นข้อที่ ๔. อินทรีย์ ๕ อันภิกษุ-
ขีณาสพอบรมแล้ว อบรมดีแล้ว ฯลฯ นี้เป็นข้อ
ที่ ๕. โพชฌงค์ ๗ อันภิกษุขีณาสพอบรมแล้ว
อบรมดีแล้ว ฯลฯ นี้เป็นข้อที่ ๖. อริยมรรคมี
องค์ ๘ อันภิกษุขีณาสพอบรมแล้ว อบรมดีแล้ว๑
ฯลฯ นี้เป็นข้อที่ ๗.
ในกำลังเหล่านั้น ท่านประกาศการแทงตลอดทุกขสัจด้วยกำลัง
ที่ ๑, การแทงตลอดสมุทยสัจด้วยกำลังที่ ๒. การแทงตลอดนิโรธอาทิผิด อักขระสัจ
ด้วยกำลังที่ ๓, การแทงตลอดมรรคสัจด้วยกำลังที่ ๔.
บทว่า อฏฺฐ วิโมกฺขา - วิโมกข์ ๘ ชื่อว่า วิโมกข์ ด้วย
อรรถว่า น้อมไปในอารมณ์ และด้วยอรรถว่า พ้นด้วยดีจากกรรมเป็น
ข้าศึก. วิโมกข์ ๘ เป็นไฉน ? วิโมกข์ ๘ คือ ภิกษุมีรูปย่อมเห็นรูป นี้เป็น
วิโมกข์ข้อที่ ๑ ภิกษุมีความสำคัญในอรูปภายใน ย่อมเห็นรูปภายนอก
นี้เป็นวิโมกข์ข้อที่ ๒. ภิกษุน้อมใจไปว่า นี้งาม เป็นวิโมกข์ข้อที่ ๓.
ภิกษุเข้าถึงอากาสานัญจายตนะว่า อนนฺโต อากาโส - อากาศไม่มีที่สุด
อยู่ เพราะล่วงรูปสัญญาโดยประการทั้งปวงดับปฏิฆสัญญา ไม่ใส่ใจถึง
นานัตตสัญญา นี้เป็นวิโมกข์ข้อที่ ๔. ภิกษุเข้าถึงวิญญาณัญจายตนะว่า
อนนฺตํ วิญฺาณํ - วิญญาณไม่มีที่สุดอยู่ เพราะล่วงอากาสานัญจายตะ
โดยประการทั้งปวง นี้เป็นวิโมกข์ข้อที่ ๕. ภิกษุเข้าถึงอากิญจัญญายตนะ
๑. ที. ปา. ๑๑/๔๔๒.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 21/219/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วิฑูฑภะทูลถาม
[๕๘๑] เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว วิฑูฑภเสนาบดี ได้
กราบทูลพระผู้มีพระภาคอาทิผิด เจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เทดาเหล่าใดมีทุกข์ มาสู่
โลกนี้ เทวดาเหล่านั้นจักยังเทวดาทั้งหลายผู้ไม่มีทุกข์ ไม่มาสู่โลกนี้ ให้จุติ หรือ
จักขับไล่เสียจากที่นั้น.
ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ได้มีความดำริว่า วิฑูฑภเสนาบดีนี้ เป็น
พระราชโอรสของพระเจ้าปเสนทิโกศล เราเป็นโอรสของพระผู้มีพระภาคเจ้า
บัดนี้เป็นกาลอันสมควรที่โอรสจะพึงสนทนากัน. ลำดับนั้น ท่านพระอานนท์
จึงกล่าวกะวิฑูฑภเสนาบดีว่า ดูก่อนเสนาบดีอาทิผิด ถ้าเช่นนั้น ในข้อนี้ อาตมาจะขอ
ย้อนถามท่านก่อน ปัญหาใดพึงพอใจแก่ท่านฉันใด ท่านพึงพยากรณ์ปัญหานั้น
ฉันนั้น ดูก่อนเสนาบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน พระราชอาณาจักร
ของพระเจ้าปเสนทิโกศลมีประมาณเท่าใด และในพระราชอาณาจักรใด พระเจ้า
ปเสนทิโกศลเสวยราชสมบัติเป็นอิศราธิบดี ในพระราชอาณาจักรนั้น ท้าวเธอ
ย่อมทรงสามารถยังสมณะหรือพราหมณ์ ผู้มีบุญหรือผู้ไม่มีบุญ ผู้มีพรหมจรรย์
หรือผู้ไม่มีพรหมจรรย์ให้เคลื่อนหรือทรงขับไล่อาทิผิด สระเสียจากที่นั้นได้มิใช่หรือ. วิฑูฑภ
เสนาบดีตอบว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระราชอาณาจักรของพระเจ้าปเสนทิโกศล
มีประมาณเท่าใด และในพระราชาอาณาจักรใด พระเจ้าปเสนทิโกศลเสวย-
ราชสมบัติเป็นอิศราธิบดี ในพระราชอาณาจักรนั้นท้าวเธอย่อมทรงสามารถยัง
สมณะหรือพราหมณ์ผู้มีบุญหรือผู้ไม่มีบุญ ผู้มีพรหมจรรย์หรือผู้ไม่มีพรหมจรรย์
ให้เคลื่อนหรือทรงขับไล่เสียจากที่นั้นได้.
อา. ดูก่อนเสนาบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ที่อันมิใช่
พระราชอาณาจักรของพระเจ้าปเสนทิโกศลมีประมาณเท่าใด และในที่ใด
พระเจ้าปเสนทิโกศลมิได้เสวยราชสมบัติเป็นอิศราธิบดี ในที่นั้น ท้าวเธอย่อม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/217/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สักกายอาทิผิด สระทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส
อย่างใดอย่างหนึ่งมีอยู่ สังโยชน์ธรรมเหล่านั้นย่อมเป็น
อันพระโสดาบันละได้แล้ว พร้อมกับทัสสนสัมปทา
[คือโสดาปัตติมรรค] ทีอาทิผิด อาณัติกะเดียว อนึ่ง พระโสดาบัน
เป็นผู้พ้นแล้วจากอบายทั้ง ๔ ไม่อาจที่จะทำอภิฐาน ๖
[คืออนันตริยธรรม ๕ กับการเข้ารีต] แน่อันนี้เป็น
รัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความ
สวัสดี จงมี.
ถึงแม้ว่าพระโสดาบันนั้น ยังทำบาปกรรมทาง
กายวาจาหรือใจไปบ้าง [เพราะความประมาท] ท่าน
ไม่อาจจะปกปิดบาปกรรมนั้นได้ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ก็ตรัสความที่พระโสดาบัน ผู้เห็นบทคือพระนิพพาน
แล้ว ไม่อาจปกปิดบาปกรรมนั้นไว้แล้ว แม้อันนี้ เป็น
รัตนะอัน ประณีตในพระสงฆ์ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความ
สวัสดี จงมี.
พุ่มไม้งามในป่า ยอดมีดอกบานสะพรั่งในต้น
เดือนคิมหะ แห่งฤดูคิมหันต์ฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ อันให้ถึงพระนิพพาน
เพื่อประโยชน์อย่างยิ่งแก่สัตว์ทั้งหลาย ก็อุปมาฉันนั้น
แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า. ด้วยคำ
สัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงมี.
พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐอาทิผิด อักขระ ทรงรู้ธรรมอันประเสริฐ
ประทานธรรมอันประเสริฐอาทิผิด อักขระ ทรงนำมาซึ่งธรรมอัน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/207/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วรรณะ ๕ เสมือนบานประตูแก้วมณีที่เปิดในรัตนวิมาน เขาจะได้สมบัติใน
เทวดาเเละมนุษย์ ประมาณแสนกัป ข้อที่เขาเกิดเป็นมนุษย์เป็นคนมีปัญญา
พึงเสวยวิปากสมบัติเห็นปานนี้ ก็ด้วยบุญที่สำเร็จมาแต่การเห็นสมณะ ซึ่งเขา
ประพฤติมาโดยชอบ ไม่น่าอัศจรรย์เลย แม้สำหรับสัตว์เดียรัจฉานอาทิผิด อักขระ บัณฑิต
ทั้งหลาย ก็พรรณนาวิบากสมบัติของการเห็นสมณะ ที่เพียงทำศรัทธาให้เกิดแล้ว
อย่างเดียวไว้อย่างนี้ ในบาลีประเทศใด บาลีประเทศนั้นมีว่า
นกฮูก ตากลม อาศัยอยู่ที่เวทิยกบรรพตมาตลอด
กาลยาวนาน นกฮูกตัวนี้สุขแท้หนอ เห็นพระพุทธเจ้า
ผู้ประเสริฐอาทิผิด อักขระ ซึ่งลุกขึ้นแต่เช้า.
มันทำจิตให้เลื่อมใสในตัวเรา และภิกษุสงฆ์ผู้
ยอดเยี่ยม ไม่ต้องไปทุคติถึงแสนกัป มันจุติจากเทวโลก
อันกุศลกรรมตักเตือนแลัวจักเป็นพระพุทธะ ผู้มีอนัน-
ตญาณอาทิผิด อักขระ ปรากฏพระนามว่า โสมนัสสะ ดังนี้.
ในเวลาพลบค่ำ หรือในเวลาย่ำรุ่ง ภิกษุฝ่ายพระสูตร ๒ รูป ย่อม
สนทนาพระสูตรกัน ฝ่ายพระวินัยก็สนทนาพระวินัยกัน ฝ่ายพระอภิธรรมก็
สนทนาพระอภิธรรมกัน ฝ่ายชาดกก็สนทนาชาดกกัน ฝ่ายอรรถกถาก็สนทนา
อรรถกถากันหรือสนทนากันในกาลนั้นๆ เพื่อชำระจิตที่ถูกความหดหู่อาทิผิด อาณัติกะ ความ
ฟุ้งซ่านและความสงสัยชักนำไป การสนทนาตามกาลนี้ ชื่อว่า การสนทนาธรรม
ตามกาล การสนทนาธรรมตามกาลนั้น ตรัสว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่ง
คุณทั้งหลายมีความฉลาดในอาคมคือนิกายทั้ง ๕ เป็นต้นแล.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสมงคลแห่งคาถานี้ไว้ มงคล คือ ความอดทน
๑ ความเป็นผู้ว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะ ๑ และการสนทนาธรรมตามกาล ๑
ด้วยประการฉะนี้. ก็ความที่มงคลเหล่านั้นเป็นมงคลอาทิผิด อักขระ ได้ชี้แจงไว้ในมงคล
นั้น ๆ แล้วทั้งนั้นแล.
จบพรรณนาความแห่งคาถาว่า ขนฺติํ จ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 67/195/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 86/188/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/177/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปรากฏ ชื่อว่า ย่อมให้บังเกิด ผู้ให้ฉันทะบังเกิดขึ้นด้วยความเป็น
ใหญ่ยิ่ง เพราะความไม่ท้อถอยอาทิผิด อาณัติกะ เพราะความไม่หดหู่เป็นไป จึงชื่อ
ว่า ย่อมให้บังเกิดอย่างยิ่ง.
วิริยนิทเทส
ในนิทเทสแห่งวิริยะ พระโยคาวจรผู้ทำความเพียรอยู่นั่นแหละ ชื่อว่า
ปรารภความเพียร. บทที่ ๒ ท่านทำให้เจริญด้วยอุปสรรค. เมื่อทำความเพียร
อยู่นั่นแหละ ชื่อว่า ย่อมเสพ ย่อมเจริญ. เมื่อทำความเพียรบ่อย ๆ ชื่อว่า
ทำให้มาก. เมื่อทำตั้งแต่ต้นเทียว ชื่อว่า ย่อมปรารภ. เมื่อทำบ่อย ๆ ชื่อว่า
ปรารภด้วยดี. เมื่อซ่องเสพด้วยสามารถแห่งภาวนา ชื่อว่า ย่อมเสพ. เมื่อให้
เจริญอยู่ ชื่อว่า ย่อมเจริญ. เมื่อทำสิ่งนั้นนั่นแหละในกิจทั้งปวงให้มาก พึง
ทราบว่า ย่อมกระทำให้มาก ดังนี้.
จิตตปัคคหนิทเทส
ในนิทเทสแห่งการประคองจิตไว้ พระโยคาวจรผู้ประกอบโดยการ
ประคับประคองซึ่งความเพียร ชื่อว่า ย่อมประคองจิตไว้ อธิบายว่า ยกจิต
ขึ้น. เมื่อประคับประคองจิตบ่อย ๆ ชื่อว่า ย่อมประคองจิตไว้ด้วยดี. จิตอัน
บุคคลประคับประคองไว้ด้วยดี ย่อมไม่ตกไปโดยประการใด เมื่ออุปถัมภ์ฐานะ
โดยประการนั้น โดยการอุปถัมภ์ด้วยความเพียร ชื่อว่า อุปถัมภ์อยู่ เมื่อ
อุปถัมภ์จิตแม้อันท่านอุปถัมภ์แล้วบ่อย ๆ เพื่อความมั่นคง ชื่อว่า ย่อมค้ำชู
ซึ่งจิตนั้น.
ในนิทเทสแห่งบทว่า “ฐิติยา” พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดง
ซึ่งคำไวพจน์ของคำว่าฐิติ๑ (ความดำรงอยู่) แม้แห่งธรรมทั้งหมดมีความไม่-
๑. คำไวพจน์ของ ฐิติ คือ ความไม่สาบสูญ ความภิญโญยิ่ง ความเจริญ ความบริบูรณ์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/205/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”