星期二, 三月 26, 2019

Kho

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 2/445/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โดยเร็วในสนามรบขาด, ตัวกพันธ์ไม่มีศีรษะ ย่อมวิ่งพล่านไป ภิกษุรูปอื่น
จึงประหารตัวกพันธ์ไม่มีศีรษะนั้นให้ตกไป, ภิกษุรูปไหนเล่า เป็นปาราชิก
ดังนี้. พระเถระจำนวนครึ่ง กล่าวแก้ว่า เป็นปาราชิกแก่ภิกษุผู้ตัดการไป.
พระโคทัตตเถระ ผู้ชำนาญพระอภิธรรม กล่าวแก้ว่า เป็นปาราชิกแก่ภิกษุผู้
ตัดศีรษะ, ในการแสดงเนื้อความแห่งเรื่องนี้ บัณฑิตควรกล่าวเรื่องทั้งหลาย
แม้เห็นปานฉะนั้นแล.
[เรื่องภิกษุสั่งให้บุรุษด้วนดื่มเปรียงตาย]
ในเรื่องเปรียง มีวินิจฉัยดังนี้:- เมื่อภิกษุสั่งไม่กำหนดว่าพวกท่าน
จงให้บุรุษผู้มือและเท้าด้วนนั้นดื่มเปรียง ดังนี้, เมื่อบุรุษนั้น ถูกพวกญาติ
ให้ดื่มเปรียงชนิดใดชนิดหนึ่งตายไป, ภิกษุต้องอาทิผิด อักขระปาราชิก. แต่เมื่อภิกษุสั่ง
กำหนดไว้ว่า จงให้ดื่มเปรียงโคอาทิผิด อักขระ เปรียงกระบือเปรียงแพะ หรือสั่งไว้ว่า จง
ให้ดื่มเปรียงที่เย็น เปรียงที่ร้อน เปรียงที่รมควัน ที่ไม่ได้รมควัน เมื่อบุรุษ
นั้นถูกพวกญาติให้ดื่มเปรียงชนิดอื่น จากเปรียงที่ภิกษุสั่งไว้นั้นตายไป เป็น
ผิดสังเกต.
[เรื่องยาดองพิเศษชื่อโลณะโสจิรกะ]
ในเรื่องยาดองโลณะโสจิรกะ มีอาทิผิด สระวินิจฉัยดังนี้:- เภสัชขนานหนึ่ง
ซึ่งปรุงด้วยข้าวทุกชนิด ชื่อว่า โลณะโสจิรกะ. เมื่อเขาจะทำเภสัชขนานนั้น
เอาน้ำฝาดแห่งผลสมอ มะขามป้อม และสมอพิเภก ธัญชาติทุกชนิด
อปรัณชาติทุกชนิด ข้าวสุกแห่งธัญชาติทั้ง ๗ ชนิด ผลทุกชนิดมีผลกล้วย
เป็นต้น ผลไม้ซึ่งงอกในหัวทุกชนิด มีผลแห่งหวาย การะเกดอาทิผิด สระอาทิผิด สระ และเป้งเป็นต้น
ชิ้นปลาและเนื้อ และเภสัชหลายอย่าง มีน้ำอาทิผิด สระผึ้ง น้ำอ้อย เกลือสินเธาว์
เกลือธรรมดา และเครื่องเผ็ดร้อน ๓ ชนิดเป็นต้น แล้วใส่รวมกันลง (ในอาทิผิด สระอาทิผิด สระหม้อ)
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: