turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/553/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ชื่อว่า ปุถุชน ด้วยเหตุมีกิเลสหนาเกิดขึ้น
เป็นต้น, เพราะกิเลสหนาหยั่งลงภายในของปุถุชน
ฉะนั้น ชนนี้จึงเป็นผู้มีกิเลสหนา.
แม้ในการก้าวลงสู่ฌานอันเป็นลักษณะของปุถุชนดังกล่าวแล้ว ท่านก็
กล่าวว่า
ทุเว ปุถุชฺชน วุตฺตา พทฺเธนฺทิจฺจพนฺธุนา
อนฺโธ ปุถุชฺชโน เอโก กลฺยาเณโก ปุถุชฺชโน.
พระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์
ตรัสถึงปุถุชนไว้ ๒ ประเภท คือ อันธปุถุชน - ปุถุ-
ชนคนโง่เขลา และกัลยาณปุถุชน - ปุถุชนคนดี.
ในปุถุชนสองประเภทดังกล่าวแล้ว ท่านอธิบายไว้ว่า ศีลของ
กัลยาณปุถุชน ผู้เป็นปุถุชนอาทิผิด อักขระมีกัลยาณธรรมตั้งอยู่ในความเป็นกัลยาณ
ปุถุชน ล่วงเลยความเป็นอันธปุถุชนด้วยการประพฤติกัลยาณธรรมอาทิผิด อักขระ
อีกอย่างหนึ่ง ผู้มีกัลยาณธรรมในหมู่ปุถุชน ชื่อว่า ปุถุชฺชนกลฺยาณ
กานํ.
กุสล ศัพท์ในบทนี้ว่า กุสลธมฺเม ยุตฺตานํ ย่อมปรากฏใน
ความไม่มีโรค ความไม่มีโทษ ความฉลาด และผลของความสุข. กุสล
ศัพท์ ปรากฏในความไม่มีโรค ในบทมีอาทิว่า กจฺจิ นุ โภโต กุสลํ,
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 73/400/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ประดาทั่วพื้นอัมพรรุ่งโรจน์ดั่งดวงทินกร กลุ่มที่กระทำความงามเสมือนธารน้ำ
ทอง และดั่งดวงรัชนีกรในฤดูสารท มีข่ายขึงกระดิ่งงามวิจิตรนานาชนิดห้อย
ย้อย เมื่อต้องลมก็ส่งเสียงไพเราะน่ารักน่าใคร่ ดั่งดนตรีเครื่อง ๕ ที่ผู้ชำนาญ
บรรเลง.
ด้วยเสียงไพเราะได้ยินมาแต่ไกล เสียงไพเราะนั้น ก็หยั่งอาทิผิด อาณัติกะลงสู่โสตของ
สัตว์ทั้งหลาย ประหนึ่งถูกประเล้าประโลมทางอากาศ อันไม่ไกลชายวนะอัน
งามของต้นไม้ ไม่ต่ำนักไม่สูงนัก ในหมู่มนุษย์ที่ยืนเจรจาปราศรัยกันอยู่ใน
บ้านเรือน ทาง ๓ แพร่ง ๔ แพร่ง และในถนนเป็นต้น ประหนึ่งดึงดูดสายตาชน
ด้วยสีที่แล่นเรืองรองรุ่งโรจน์ด้วยรัตนะต่างๆ คือกิ่งอันงามของต้นไม้ และ
ประหนึ่งโฆษณาปุญญานุภาพก็ดำเนินไปตลอดพื้นคัคนานต์. แม้เหล่าสนมนาฏ
นารี ณ ที่นั้น ก็ขับกล่อมประสานเสียงด้วยเสียงอันไพเราะแห่งดนตรีอย่างดีมี
องค์ ๕. เขาว่าแม้กองทัพ ๔ เหล่าของพระองค์ ก็งดงามด้วยอาภรณ์คือดอกไม้
หอมและผ้ามีสีสันอาทิผิด สระต่าง ๆ ร่วงรุ้งรุ่งโรจน์เกิดจากประกายเครื่องอลังการและ
อาภรณ์ประดับกาย ไปแวดล้อมปราสาททางภาคพื้นนภากาศ ดุจกองทัพทวย-
เทพ ดุจแผ่นธรณีที่งามน่าดูอย่างยิ่ง.
แต่นั้น ปราสาทก็ไปทำต้นโพธิ์พฤกษ์ชื่อต้นนาคะ ซึ่งสูง ๘๘ ศอก
ลำต้นตรงอวบกลม ประดับด้วยดอกใบอ่อนตูมไว้ตรงกลาง แล้วลงตั้งที่พื้น
ดิน. ส่วนอาทิผิด อาณัติกะเหล่าสนมนาฏนารี ใครๆ มิได้บอก ก็ลงจากปราสาทนั้นหลีกไป.
เขาว่า แม้พระโสภิตมหาบุรุษ ผู้งามด้วยคุณสมบัติเป็นอันมากทำมหาชนเป็น
บริวารอย่างเดียว ทรงยังวิชชา ๓ ให้เกิดในยามทั้ง ๓ แห่งราตรี. ส่วนกอง
กำลังแห่งมาร ก็ไปตามทางที่ไป โดยกำลังธรรมดาของพระมหาบุรุษนั้นนั่น
เอง พระผู้มีพระภาคเจ้าโสภิตะ ทรงบรรลุพระสัมโพธิญาณแล้ว ก็ทรงเปล่ง
พระอุทานว่า อเนกชาติสํสารํ ฯ เป ฯ ตณฺหานํ ขยมชฺฌคา ทรงยับยั้ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 53/261/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหล่านั้นมีวิชชา ๓ มีอภิญญา ๖ ถึงที่สุดแห่งฤทธิ์ ถึง
ที่สุดแห่งปัญญา ย่อมแวดล้อมพระองค์อยู่ทุกเมื่อ ข้าแต่
พระมหาวีรเจ้า บรรดาศิษย์ของพระองค์เช่นนี้แลหนอ
ศึกษาดีแล้ว หาผู้เสมอได้ยาก มีเดชรุ่งเรือง แวดล้อม
พระองค์อยู่ทุกเมื่อ พระองค์อันศิษย์เหล่านั้นผู้สำรวม
แล้ว มีตบะแวดล้อมแล้ว ไม่ครั้่นคร้ามอาทิผิด ดังราชสีห์
ย่อมงดงามดุจพระจันทร์ ต้นไม้ตั้งอยู่บนแผ่นดินแล้ว
ย่อมงาม ถึงความไพบูลย์ และย่อมเผล็ดผลฉันใด
ข้าแต่พระองค์ผู้ศากยบุตร ผู้มียศใหญ่ พระองค์เป็นเช่น
กับแผ่นดิน ศิษย์ทั้งหลายก็ฉันนั้น ตั้งอยู่ในศาสนาของ
พระองค์แล้ว ย่อมได้อมฤตผล แม่น้ำสินธุ แม่น้ำ
สรัสสดี แม่น้ำจันทภาคา แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมุนา
แม่น้ำสรภู และแม่น้ำมหี เมื่อแม่น้ำเหล่านั้นไหลมา
สาครย่อมรับไว้หมด แม่น้ำเหล่านี้ย่อมละชื่อเดิม ย่อม
ปรากฏเป็นสาครนั่นเองฉันใด วรรณะ ๔ เหล่านี้ก็ฉันนั้น
บวชแล้วในสำนักของพระองค์ ย่อมละชื่อเดิมทั้งหมด
ปรากฏว่าเป็นบุตรของพระพุทธเจ้า เปรียบเหมือนดวง-
จันทร์อันปราศจากมลทิน โคจรอยู่ในอากาศ ย่อม
รุ่งโรจน์ล่วงมวลหมู่ดาวในโลกด้วยรัศมีฉันใด ข้าแต่-
พระมหาวีรเจ้า พระองค์ก็ฉันนั้น อันศิษย์ทั้งหลายแวด-
ล้อมแล้ว ย่อมรุ่งเรืองก้าวล่วงเทวดา และมนุษย์ ตลอด
พุทธเขตทุกเมื่อ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/294/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๙. มาตุโปสกสูตร
ว่าด้วยการเลี้ยงมารดาและบิดา
[๗๑๓] สาวัตถีนิทาน.
ครั้งนั้น ทาตุโปสกพราหมณ์ผู้เลี้ยงมารดาเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าถึงที่ประทับ สนทนาปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นผ่านการ
ปราศรัยกันตามธรรมเนียมอาทิผิด แล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง มาตุโปสกพราหมณ์
นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ท่านพระ -
โคดมผู้เจริญ ข้าพเจ้าแสวงหาภิกษาโดยธรรมแล้วเลี้ยงมารดาและบิดา ข้าพเจ้า
ทำเช่นนี้ ชื่อว่าทำกิจที่ควรทำหรือไม่.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ชอบยิ่ง พราหมณ์ ท่านทำดังนี้ ชื่อว่า
ได้ทำกิจที่ควรทำแล้ว ด้วยว่า ผู้ใดแสวงหาภิกษาโดยธรรมแล้ว เลี้ยงมารดา
และบิดาผู้นั้นย่อมได้บุญเป็นอันมาก.
[๗๑๔] พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้พระสุคตศาสดา ครั้นตรัสไวยากรณ-
ภาษิตนี้จบลงแล้ว จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า
บุคคลใดเลี้ยงมารดาและบิดาโดย
ธรรม เพราะการบำรุงมารดาและบิดานั่น
แล บัณฑิตย่อมสรรเสริญบุคคลนั้นในโลก
นี้ทีเดียว บุคคลนั้นละไปจากโลกนี้แล้ว
ย่อมบันเทิงในสวรรค์.
[๗๑๕] เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเช่นนี้แล้ว มาตุโปสกพราหมณ์
ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้ง
นัก ท่านพระโคดม ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก พระองค์ทรงประกาศธรรม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/316/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/345/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เขมมฤคทายวันใกล้ราชธานี ชื่อพันธุมดี อันเป็นที่เสด็จประทับของพระผู้มี
พระภาคเจ้าวิปัสสี. ก็แล อุโบสถนั้นได้กระทำเป็นสังฆอุโบสถอย่างเดียว
หาได้กระทำเป็นคณะอุโบสถ บุคคลอุโบสถ ปาริสุทธิอุโบสถ อธิษฐาน
อุโบสถไม่ ได้ทราบว่าในเวลานั้น ในชมพูทวีป มีวิหารแปดหมื่นสี่พันตำบล
ในวิหารแต่ละตำบลอาทิผิด อักขระมีภิกษุอยู่เกลื่อนไป วิหารละหมื่นรูปบ้าง สองหมื่นรูปบ้าง
สามหมื่นรูปบ้าง เกินไปบ้าง.
[พวกเทวดาบอกวันทำอุโบสถแก่พวกภิกษุ]
พวกเทวดาผู้บอกวันอุโบสถ เที่ยวไปบอกในที่นั้น ๆ ว่า ท่านผู้มี
นิรทุกข์ทั้งหลาย ! ล่วงไปแล้วปีหนึ่ง ล่วงไปแล้ว ๒ ปี ๓ ปี ๔ ปี ๕ ปี,
นี้ปีที่หก เมื่อดิถีเดือนเพ็ญมาถึง พวกท่านควรไปเพื่อเฝ้าพระพุทธเจ้าและ
เพื่อทำอุโบสถ กาลประชุมของพวกท่านมาถึงแล้ว ในเวลานั้น พวกภิกษุผู้มี
อานุภาพก็ไปด้วยอานุภาพของตน พวกนอกนี้ไปด้วยอานุภาพของเทวดา.
ถามว่า พวกนอกนี้ไปด้วยอานุภาพของเทวดาได้อย่างไร ?
ตอบว่า ได้ทราบว่า ภิกษุเหล่านั้นผู้อยู่ใกล้สมุทรทางทิศปราจีนหรือ
ใกล้สมุทรทางทิศปัจฉิม อุดร และทักษิณ บำเพ็ญคมิยวัตร แล้วถือเอาบาตร
และจีวรยังความคิดให้เกิดขึ้นว่า จะไป. พร้อมด้วยจิตตุปบาท พวกเธอก็
เป็นผู้ไปสู่โรงอุโบสถทีเดียว. พวกเธอถวายอภิวาทพระวิปัสสีสัมมาสัมพุทธเจ้า
แล้วนั่งอยู่.
[โอวาทปาฏิโมกขคาถา]
แม้พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์นี้ ในบริษัทผู้
นั่งประชุมกันแล้วว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 70/264/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ชนทั้งหลายมีประโยชน์เป็นเหตุ จึงคบหาสมาคมกัน
บุคคลผู้ไม่มีเหตุ จะมาเป็นมิตรกันในทุกวันนี้หาได้ยาก พวก
มนุษย์ผู้ไม่สะอาดมักเห็นแก่ประโยชน์ตน พึงเป็นผู้เดียว
เที่ยวไปเหมือนนอแรดฉะนั้น.
คำว่า สพฺเพสุ ภูเตสุ ในคาถานั้น คือพระสูตรว่าด้วยขัคค-
วิสาณปัจเจกสัมพุทธาปทาน.
พระสูตรนั้นมีเหตุเกิดขึ้นอย่างไร ?
พระสูตรทั้งปวง มีเหตุอาทิผิด สระเกิดขึ้น ๔ อย่าง คือเกิดโดยอัธยาศัย
ของตนเอง ๑ เกิดโดยอัธยาศัยของผู้อื่น ๑ เกิดโดยเกิดเรื่องขึ้น ๑
และเกิดโดยอำนาจการถาม ๑
ในเหตุเกิด ๔ อย่างนั้น ขัคควิสาณสูตรเกิดขึ้นด้วยอำนาจการถาม
โดยไม่พิเศษ. แต่เมื่อว่าโดยพิเศษ เพราะเหตุที่คาถาบางคาถาในสูตรนี้
พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าองค์นั้น ๆ ถูกเขาถามจึงกล่าวไว้ บางคาถาไม่ถูก
ถาม แต่เมื่อจะเปล่งเฉพาะอุทานอันเหมาะสมแก่นัยแห่งมรรคที่ตนอาทิผิด อักขระบรรลุ
จึงได้กล่าวไว้ เพราะฉะนั้น บางคาถาจึงเกิดขึ้นด้วยอำนาจการถาม บาง
คาถาเกิดขึ้นด้วยอัธยาศัยของตน. ในเหตุเกิด ๔ อย่างนั้น เหตุเกิดด้วย
อำนาจการถามโดยไม่พิเศษนี้นั้น พึงทราบอย่างนี้จำเดิมแต่ต้นไป.
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในนครสาวัตถี ครั้งนั้น
ท่านพระอานนท์ อยู่ในที่ลับเร้นอยู่ เกิดความปริวิตกแห่งใจขึ้นอย่างนี้ว่า
ความปรารถนาและอภินีหารของพระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมปรากฏ ของ
พระสาวกทั้งหลายก็ปรากฏเหมือนอย่างนั้น แต่ของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า
ทั้งหลายยังไม่ปรากฏ ถ้ากระไรเราพึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/82/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/261/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๒. อนุปนาหีบุคคล บุคคลผู้ไม่ผูกโกรธ เป็นไฉน ?
ความผูกอาทิผิด สระโกรธ ในข้อนั้น เป็นไฉน ? ความโกรธมีในกาลเบื้องต้น
ความผูกโกรธมีในกาลภายหลัง ความผูกโกรธ กิริยาที่ผูกโกรธ ภาวะที่ผูก
โกรธ การไม่หยุดโกรธ การตั้งความโกรธไว้ การดำรงความโกรธไว้ การไหล
ไปตามความโกรธ การผูกพันความโกรธ การทำความโกรธให้มั่นเข้า อันใด
เห็นปานนี้ นี้เรียกว่า ความผูกโกรธ. ความผูกโกรธนี้ อันบุคคลใดละได้แล้ว
บุคคลนี้เรียกว่า ผู้ไม่ผูกโกรธ.
อรรถกถาอักโกธนบุคคล คือ บุคคลผู้ไม่โกรธ เป็นต้น
บทว่า “ปหีโน” ได้แก่ ความโกรธที่บุคคลละได้แล้ว ด้วยวิก-
ขัมภนปหาน หรือด้วยตทังคปหาน หรือ ด้วยสมุจเฉทปหาน.
[๖๙] ๑. อมักขีบุคคล บุคคลผู้ไม่ลบหลู่บุญคุณผู้อื่น เป็นไฉน ?
ความลบหลู่บุญคุณผู้อื่น ในข้อนั้น เป็นไฉน ? ความลบหลู่ กิริยา
ที่ลบหลู่ ภาวะที่ลบหลู่ ความไม่เห็นคุณของผู้อื่น การกระทำความไม่เห็นคุณ
ผู้อื่น นี้เรียกว่า ความลบหลู่บุญคุณผู้อื่น. ความลบหลู่บุญคุณผู้อื่นนี้ อัน
บุคคลใดละได้แล้ว บุคคลนี้เรียกว่า ผู้ไม่ลบหลู่บุญคุณผู้อื่น.
๒. อปลาสีบุคคล บุคคลผู้ไม่ตีเสมอผู้อื่น เป็นไฉน ?
ความตีเสมอผู้อื่น ในข้อนี้ เป็นไฉน. ? การตีเสมอ กิริยาที่ดีเสมอ
ภาวะที่ตีเสมอ ธรรมที่เป็นอาหารแห่งการตีเสมอ ฐานะแห่งวิวาท การถือเป็น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 57/23/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เริ่มต้นว่า อิธูรคานํ ปวโร ปวิฏฺโฐ ดังนี้.
ได้ยินว่า มหาอํามาตย์สองคนเป็นหัวหน้าทหารเป็น
เสวกของพระเจ้าโกศล เห็นกันและกันเข้าก็ทะเลาะกัน. การ
จองเวรของเขาทั้งสองเป็นที่รู้กันทั่วนคร. พระราชา ญาติและ
มิตรไม่สามารถจะทำให้เขาทั้งสองสามัคคีกันได้.
อยู่มาวันหนึ่ง ในเวลาใกล้รุ่งพระศาสดาทรงตรวจดูเผ่า
พันธุ์สัตว์ที่ควรแนะนำให้ตรัสรู้ ทรงเห็นอุปนิสัยแห่งโสดาปัตติ-
มรรคของเขาทั้งสอง วันรุ่งขึ้น เสด็จสู่กรุงสาวัตถีเพื่อบิณฑบาต
พระองค์เดียวเท่านั้น ประทับยืนที่ประตูเรือนของคนหนึ่ง. เขา
ออกมารับบาตรแล้วนิมนต์พระศาสดาให้เสด็จเข้าไปภายในเรือน
ปูอาสนะให้ประทับนั่ง. พระศาสดาประทับนั่งแล้ว ตรัสอานิสงส์
แห่งการเจริญเมตตาแก่เขา ทรงทราบว่ามีจิตอ่อนแล้ว จึงทรง
ประกาศอาทิผิด อักขระอริยสัจ. เมื่อจบอริยสัจ เขาตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล.
พระศาสดาทรงทราบว่าเขาบรรลุโสดาแล้ว ให้เขาถือบาตรทรง
พาไปประตูเรือนของอีกคนหนึ่ง. อำมาตย์นั้นก็ออกมาถวาย
บังคมพระศาสดากราบทูลว่า ขอเชิญเสด็จเข้าไปเถิดพระเจ้าข้า
แล้วทูลเสด็จเข้าไปยังเรือนอัญเชิญให้ประทับนั่ง. อำมาตย์ที่
ตามเสด็จก็ถือบาตรตามเสด็จพระศาสดาเข้าไปพร้อมกับพระ-
ศาสดา. พระศาสดาตรัสพรรณนาอานิสงส์เมตตา ๑๑ ประการ
ทรงทราบว่าเขามีจิตสมควรแล้ว จึงทรงประกาศสัจธรรม.
เมื่อจบแล้ว อำมาตย์นั้นก็ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล. อำมาตย์ทั้งสอง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/121/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๖. ทุติยสัญญาสูตร
[๔๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัญญา ๗ ประการนี้ อันภิกษุ
เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่
อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด สัญญา ๗ ประการเป็นไฉน คือ อสุภสัญญา ๑
มรณอาทิผิด สระสัญญา ๑ อาหาเร ปฏิกูลสัญญา ๑ สัพพโลเก อนภิรตสัญญา ๑
อนิจจสัญญา ๑ อนิจเจ ทุกขสัญญา ๑ ทุกเข อนัตตสัญญา ๑ ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า อสุภสัญญา อันภิกษุเจริญแล้ว
กระทำให้มาก ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะ
เป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อ
ภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก. จิตย่อมหวลกลับ
งอกลับ ถอยกลับจากการร่วมเมถุนธรรม ไม่ยื่นไปรับการร่วม
เมถุนธรรม อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ เปรียบ
เหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใสลงในไฟ ย่อมหดงอเข้าหากัน
ไม่คลี่ออกฉะนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอบรมแล้ว
ด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมไหลไปในการร่วมเมถุนธรรม
หรือความเป็นของไม่ปฏิกูลตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า
อสุภสัญญาอันเราไม่เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลาย
ของเราก็ไม่มี ผลแห่งภาวนาของเราไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้น
จึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอสุภสัญญานั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าหากว่า
เมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวล
กลับ งอกลับ ถอยกลับ จากการร่วมเมถุนธรรม ไม่ยื่นไปรับการ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 20/302/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นกยูง หรือนกชื่อว่า สิถิลหนุ [คางหย่อน] . . . เกาทัณฑ์นั้นเขาพันด้วย
เอ็นวัว ควาย ค่างอาทิผิด อักขระหรือลิง. . . ลูกธนูอาทิผิด สระที่ยิงเรานั้น เป็นชนิดอะไร ดังนี้
เพียงใด เราจักไม่นำลูกศรนี้ออกเพียงนั้น ดูก่อนมาลุงกยบุตร บุรุษนั้นพึงรู้
ข้อนั้นไม่ได้เลย โดยที่แท้ บุรุษนั้นพึงทำกาละไป ฉันใด ดูก่อนมาลุงกยบุตร
บุคคลใดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจักไม่ทรงพยากรณ์ทิฏฐิ ๑๐
นั้น ฯ ล ฯ แก่เราเพียงใด เราจักไม่ประพฤติอาทิผิด อักขระพรหมจรรย์ในพระผู้มีพระภาคเจ้า
เพียงนั้น ข้อนั้นตถาคตไม่พยากรณ์เลย โดยที่แท้ บุคคลนั้นพึงทำกาละไป
ฉันนั้น.
[๑๕๑] ดูก่อนมาลุงกยบุตร เมื่อมีทิฏฐิว่า โลกเที่ยง ดังนี้ จักได้
มีการอยู่ประพฤติพรหมจรรย์หรือ ก็ไม่ใช่อย่างนั้น.
ดูก่อนมาลุงกยบุตร เมื่อมีทิฏฐิว่า โลกไม่เที่ยง ดังนี้ จักไม่มีการ
อยู่ประพฤติพรหมจรรย์หรือ แม้อย่างนั้นก็ไม่ใช่.
ดูก่อนมาลุงกยบุตร เมื่อยังมีทิฏฐิว่า โลกเที่ยง หรือว่า โลกไม่เที่ยง
อยู่ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส ก็
คงที่อยู่ทีเดียว เราจึงบัญญัติความเพิกถอนชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ
ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสในปัจจุบัน ดูก่อนมาลุงกยบุตร เมื่อมีทิฏฐิว่า
โลกมีที่สุด ดังนี้ จักได้มีการอยู่ประพฤติพรหมจรรย์หรือ ก็ไม่ใช่อย่างนั้น.
ดูก่อนมาลุงกยบุตร เมื่อมีทิฏฐิว่า โลกไม่มีที่สุด ดังนี้ จักได้มีการ
อยู่ประพฤติพรหมจรรย์หรือ แม้อย่างนั้นก็ไม่ใช่.
ดูก่อนมาลุงกยบุตร เมื่อยังมีทิฏฐิว่า โลกมีที่สุด หรือว่า โลกไม่มี
ที่สุดอยู่ ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส ก็คง
มีอยู่ทีเดียว เราจึงบัญญัติความเพิกถอนชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 16/297/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อันเป็นอกุศล ที่มีความหมายอย่างเดียวกันนั้น นี้เรียกว่า กาเมสนา.
บรรดาเอสนาเหล่านั้น ภเวสนาคืออะไร คือภวราคะ กายกรรม วจีกรรม
มโนกรรม อันเป็นอกุศล ที่มีความหมายอย่างเดียวกันนั้น นี้เรียกว่า
ภเวสนา บรรดาเอสนาเหล่านั้น พรหมจริเยสนาคืออะไร คือทิฐิที่ยึดถือ
จนสุดเหวี่ยง กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันเป็นอกุศล ที่มีความ
หมายอย่างเดียวกันนั้น นี้เรียกว่า พรหมจริเยสนา.
พึงทราบวินิจฉัยในวิธา. การตั้งไว้ซึ่งอาการ ดังเช่นในประโยคว่า
“ บัณฑิตกล่าวถึงคนมีศีลว่าเป็นอย่างไร, กล่าวถึงคนมีปัญญาว่าเป็น
อย่างไร” ดังนี้ ชื่อว่า วิธา. ส่วนก็ชื่อว่าวิธา ดังเช่นในประโยคว่า “ญาณ-
วัตถุโดย ๑ ส่วน, ญาณวัตถุโดย ๒ ส่วน”. มานะชื่อว่าวิธา ดังเช่น
ในประโยคว่า “วิธา (มานะ) ว่าเราดีกว่าเขา”, ในที่นี้มุ่งหมายเอาวิธา
ที่แปลว่า มานะนั้น. อันที่จริง มานะท่านเรียกว่า วิชา เพราะจัดแจง
ด้วยอำนาจที่ให้ถือว่าดีกว่าเขาเป็นต้น. ด้วยคำว่า เสยฺโย หมสฺมิ นี้
ท่านกล่าวถึงมานะ ๓ อย่าง คือดีกว่าเขา เสมอเขา เลวกว่าเขา. แม้ใน
สทิสวิธา และหีนวิธา ก็มีนัยเดียวกันนี้. ที่จริงมานะนี้มี ๙ อย่าง. คือ
คนดีกว่าเขามีมานะ ๓ อย่าง คนเสมอเขามีมานะ ๓ อย่าง คนเลวกว่าเขา
มีมานะ ๓ อย่าง. บรรดามานะ ๙ อย่างนั้น สำหรับคนดีกว่าเขา มานะ
ว่าเราดีกว่าเขา ย่อมเกิดขึ้นแก่พระราชาและบรรพชิต. พระราชาย่อมมี
มานะเช่นนี้ว่า “ใครหรือจะมาสู้อาทิผิด อาณัติกะเราได้ ไม่ว่าจะทางราชอาณาเขต ทาง
ราชทรัพย์ หรือว่าทางไพร่พลพาหนะ”. ฝ่ายบรรพชิตก็ย่อมมีมานะเช่น
นี้ว่า “ใครเล่าจะมาทัดเทียมเราได้ด้วยศีลคุณ และธุดงคคุณเป็นต้น”.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/572/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เมื่อใด ดิฉันเจริญวัยโตเป็นสาว มีรูป
และผิวพรรณงาม เมื่อนั้น พระราชบิดาก็โปรด
ปรานประทานดิฉันแก่พระเจ้าพิมพิสาร
ดิฉันเป็นที่โปรดปรานของพระราชสวามี
ยินดีแต่ในการบำรุงรูป ไม่พอใจคนที่กล่าวโทษ
รูปเป็นอันมาก.
ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารโปรดให้นัก
ขับร้อง ขับเพลงพรรณาพระมหาวิหารเวฬุวัน
ด้วยพระประสงค์จะทรงอนุเคราะห์ดิฉัน
ดิฉันสำคัญว่าพระมหาวิหารเวฬุวันอัน
เป็นที่ประทับแห่งพระสุคตเจ้าเป็นที่รื่นรมย์ ผู้
ใดยังมิได้เห็นก็จัดว่าผู้นั้นยังไม่เห็นนันทวัน
พระมหาวิหารเวฬุวันเป็นดังว่านันทวัน
อันเป็นที่เพลิดเพลินของนรชน ผู้ใดได้เห็นแล้ว
นับว่าผู้นั้นเห็นซึ่งนันทวันดีแล้ว อันเป็นที่เพลิด
เพลินของท้าวอมรินทร์
สักกเทวราชอาทิผิด สระทวยเทพละนันทวันแล้วลงมา
ที่พื้นดิน เห็นพระมหาวิหารเวฬุวันอันน่ารื่นรมย์
เข้าแล้ว ก็อัศจรรย์ใจเพลินชมมิได้เบื่อ
พระมหาวิหารเวฬุวันเกิดขึ้นเพราะบุญ
ของพระราชา อันบุญญานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า
ประดับแล้ว ใครเล่าจะกล่าวถึงความเจริญด้วย
คุณแห่งพระมหาวิหารเวฬุวันให้จบได้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 31/246/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้แก่กามฉันทนีวรณ์นั่นเอง. ทรงแสดงพยาบาทนีวรณ์ด้วยอำนาจแห่งโทมนัส
ก็แล หมวดสี่นี้ ตรัสด้วยอำนาจวิปัสสนาเท่านั้น ส่วนธัมมานุปัสสนามี ๖ อย่าง*
ด้วยอำนาจนีวรณอาทิผิด อักขระบรรพเป็นต้น นีวรณบรรพ เป็นข้อต้นของธัมมานุปัสสนานั้น
แม้ของนีวรณบรรพนั้น มี หมวดสองแห่งนีวรณ์นี้ขึ้นต้น. เพื่อจะทรงชี้ถึงคำขึ้น
ต้นแห่งธัมมานุปัสสนา ดังที่ว่ามานี้ จึงตรัสว่า อภิชฌาและโทมนัส
ดังนี้. คำว่า การละ หมายเอา ความรู้สำหรับละอย่างนี้ว่า ภิกษุย่อมละ
ความสำคัญว่าเที่ยง ด้วยการตามพิจารณาเห็นความไม่เที่ยง. คำว่า ตํ ปญฺาย
ทิสฺวา คือ ญาณเครื่องละอันได้แก่อนิจจญาณ วิราคญาณ นิโรธญานและ
ปฏินิสสัคคญาณนั้น ย่อมมีด้วยวิปัสสนาปัญญา อีกอย่างหนึ่ง ทรงแสดงถึงความ
สืบต่อถัด ๆ กันแห่งวิปัสสนา แม้นั้นอย่างนี้ว่า อย่างอื่นอีก. คำว่า จึง
วางเฉยเสียได้ คือ ชื่อว่า ย่อมวางเฉยอย่างยิ่งโดยสองทางคือ ย่อมวางเฉย
อย่างยิ่งกะผู้ดำเนินไปในความสงบ ๑ ย่อมวางเฉยอย่างยิ่งกะการบำรุง
พร้อมกัน ๑. ในกรณีนั้น ความวางเฉยอย่างยิ่ง ย่อมมีแม้ต่อธรรม
ที่เกิดร่วมกันบ้าง ความวางเฉยอย่างยิ่ง ย่อมมีต่ออารมณ์บ้าง ในที่นี้ประสงค์
เอาความวางเฉยอย่างยิ่งต่ออารมณ์. คำว่า เพราะฉะนั้นแหละอานนท์ คือ
เพราะเหตุที่อานาปานสติสมาธิเป็นไปแล้วโดยทำนองเป็นต้นว่า เราจักตาม
พิจารณาเห็นความไม่เที่ยงหายใจออก ไม่ใช่เป็นไปแต่ในธรรมมีนิวรณ์
เป็นต้นเท่านั้น แต่ภิกษุได้เห็นญาณเครื่องละธรรมที่กล่าวไว้แล้วในหัวข้อ
คือ อภิชฌาและโทมนัส ด้วยปัญญาแล้ว ย่อมเป็นผู้วางเฉยอย่างยิ่ง ฉะนั้น
พึงทราบว่า ภิกษุเป็นผู้ตามพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย ในสมัยนั้นอยู่.
* พม่า - ๕ อย่าง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/255/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระมุนีทั้งหลายในปางก่อนผู้แสวงหาคุณอันยิ่ง
ใหญ่ มาถึงความเป็นพระสัพพัญญูในโลกนี้ โดย
ประการใด แม้พระศากยมุนี ก็เสด็จมา โดยประการ
นั้น เพราะเหตุนั้น พระศากยมุนีผู้มีจักษุ ชาวโลก
จึงเฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
พระชินเจ้าทั้งหลาย ทรงละมลทินกิเลส มีกาม
เป็นต้นได้เด็ดขาด ด้วยสมาธิและปัญญา แล้วจึง
ดำเนินไป โดยประการใด พระศากยมุนีในปางก่อน
ทรงไว้ซึ่งความรุ่งเรือง เสด็จไป โดยประการนั้น
เพราะฉะนั้น ชาวโลกจึงเฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
อนึ่ง พระชินเจ้าเสด็จถึงพร้อม ซึ่งลักษณะแห่ง
ธาตุและอายตนะเป็นต้นอันถ่องแท้ โดยจำแนก
สภาวะ สามัญญะ และวิภาคะ ด้วยพระสยัมภูอาทิผิด สระญาณ
เพราะฉะนั้น พระศากยะผู้ประเสริฐ ชาวโลกจึง
เฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
สัจจะอันถ่องแท้อาทิผิด อักขระ และอิทัปปัจจยตาอันถ่องแท้ที่
คนอื่นแนะนำไม่ได้ อันพระตถาคตผู้มีสมันตจักษุ
ทรงประกาศแล้ว โดยนัยด้วยประการทั้งปวง เพราะ-
ฉะนั้น พระชินเจ้า ผู้เสด็จไปโดยถ่องแท้ ชาวโลก
จึงเฉลิมพระนามว่า ตถาคต.
การที่พระชินเจ้า ทรงเห็นโดยถ่องแท้ทีเดียว
ในโลกธาตุแม้มีประเภทมิใช่น้อยในอารมณ์มีรูปาย-
พระปิฎกธรรม