星期一, 四月 08, 2019

Morana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/121/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๖. ทุติยสัญญาสูตร
[๔๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัญญา ๗ ประการนี้ อันภิกษุ
เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่
อมตะ มีอมตะเป็นที่สุด สัญญา ๗ ประการเป็นไฉน คือ อสุภสัญญา ๑
มรณอาทิผิด สระสัญญา ๑ อาหาเร ปฏิกูลสัญญา ๑ สัพพโลเก อนภิรตสัญญา ๑
อนิจจสัญญา ๑ อนิจเจ ทุกขสัญญา ๑ ทุกเข อนัตตสัญญา ๑ ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่กล่าวดังนี้ว่า อสุภสัญญา อันภิกษุเจริญแล้ว
กระทำให้มาก ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก หยั่งลงสู่อมตะ มีอมตะ
เป็นที่สุด เรากล่าวแล้วเพราะอาศัยอะไร ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อ
ภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก. จิตย่อมหวลกลับ
งอกลับ ถอยกลับจากการร่วมเมถุนธรรม ไม่ยื่นไปรับการร่วม
เมถุนธรรม อุเบกขาหรือความเป็นของปฏิกูลย่อมตั้งอยู่ เปรียบ
เหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นที่เขาใสลงในไฟ ย่อมหดงอเข้าหากัน
ไม่คลี่ออกฉะนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอบรมแล้ว
ด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมไหลไปในการร่วมเมถุนธรรม
หรือความเป็นของไม่ปฏิกูลตั้งอยู่ไซร้ ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า
อสุภสัญญาอันเราไม่เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้งเบื้องต้นและเบื้องปลาย
ของเราก็ไม่มี ผลแห่งภาวนาของเราไม่ถึงที่ เพราะฉะนั้น ภิกษุนั้น
จึงต้องเป็นผู้รู้ทั่วถึงในอสุภสัญญานั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถ้าหากว่า
เมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอสุภสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อมหวล
กลับ งอกลับ ถอยกลับ จากการร่วมเมถุนธรรม ไม่ยื่นไปรับการ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: