星期日, 六月 30, 2019

Achan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 43/271/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๒๔. ตัณหาวรรควรรณนา

๑. เรื่องปลาชื่อกปิละ [๒๔๐]

ข้อความเบื้องต้น

พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภปลาชื่อกปิละ
ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า “ มนุชสฺส ” เป็นต้น.
สองพี่น้องออกบวช
ได้ยินว่า ในอดีตกาล ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนาม
ว่ากัสสป ปรินิพพานแล้ว กุลบุตรสองคนพี่น้องออกบวชในสำนักแห่ง
พระสาวกทั้งหลาย.
บรรดากุลบุตรสองคนนั้น คนพี่ได้ชื่อว่าโสธนะ, คนน้องชื่อกปิละ.
ส่วนมารดาของคนทั้งสองนั้น ชื่อว่าสาธนี, น้องสาวชื่อตาปนา. แม้
หญิงทั้งสองนั้น ก็บวชแล้วใน ( สำนัก ) ภิกษุณี. เมื่อคนเหล่านั้นบวช
แล้วอย่างนั้น พี่น้องทั้งสองทำวัตรและปฏิวัตรแก่พระอาจารย์อาทิผิด สระและพระ-
อุปัชฌายะอยู่ วันหนึ่ง ถามว่า “ ท่านขอรับ ธุระในพระศาสนานี้มี
เท่าไร ?” ได้ยินว่า “ ธุระมี ๒ อย่าง คือ คันถธุระ ๑ วิปัสสนา-
ธุระ ๑,” ภิกษุผู้เป็นพี่คิดว่า “ เราจักบำเพ็ญวิปัสสนาธุระ” อยู่ในสำนัก
แห่งพระอาจารย์และพระอุปัชฌาย์ ๕ พรรษาแล้ว เรียนกัมมัฏฐานจน
ถึงพระอรหัต เข้าไปสู่ป่าพยายามอยู่ ก็บรรลุพระอรหัตผล.
น้องชายเมาในคันถธุระ
ภิกษุน้องชายคิดว่า “ เรายังหนุ่มก่อน, ในเวลาแก่จึงจักบำเพ็ญ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 六月 28, 2019

Tham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/80/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พรรษา จักประชุมสังคายนาพระธรรมและพระวินัยในเดือนกลางพรรษา.
ในวันที่ ๒ พระเถระเหล่านั้นได้ไปยืนอยู่ที่ประตูพระราชวัง.
พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จมานมัสการแล้ว มีพระราชอาทิผิด อักขระดำรัสถามถึงกิจที่พระ
องค์ทำว่า พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย มาธุระอะไร เจ้าข้า ? พระเถระทั้งหลาย
ถวายพระพรให้ทรงทราบถึงงานฝีมือ เพื่อประโยชน์แก่การปฏิสังขรณ์วัด
ใหญ่ ๑๘ วัด. พระเจ้าอชาตศัตรูได้พระราชทานคนที่ทำงานฝีมือ. พระ
เถระให้ปฏิสังขรณ์วัดทั้งหมดตลอดเดือนต้นฤดูฝนเสร็จแล้ว ถวายพระพร
แด่พระเจ้าอชาตศัตรูว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตร งานปฏิสังขรณ์วัด
เสร็จแล้ว บัดนี้อาตมภาพทั้งหลาย จะทำการสังคายนาพระธรรมและ
พระวินัย. พระเจ้าอชาตศัตรูมีพระราชดำรัสว่า ดีแล้ว เจ้าข้า พระ
คุณเจ้าทั้งหลายไม่ต้องหนักใจ นิมนต์ทำเถิด การฝ่ายอาณาจักรขอให้เป็น
หน้าที่ของโยม ส่วนการฝ่ายธรรมอาทิผิด อักขระจักร ขอให้เป็นหน้าที่ของพระคุณเจ้า
ทั้งหลาย โยมจะต้องทำอะไรบ้าง โปรดสั่งมาเถิด เจ้าข้า. พระเถระทั้ง-
หลายถวายพระพรว่า ขอถวายพระพรมหาบพิตร ขอพระองค์ได้โปรด
ให้ทำที่นั่งประชุมสำหรับภิกษุทั้งหลายผู้ทำสังคายนา. จะทำที่ไหน เจ้า-
ข้า ? ขอถวายพระพรมหาบพิตร ควรทำใกล้ประตูถ้ำสัตตบรรณ ข้าง
ภูเขาเวภาระ. พระเจ้าอชาตศัตรูมีพระราชกระแสว่า เหมาะดี เจ้าข้า
แล้วโปรดให้สร้างมณฑปมีเครื่องประดับวิเศษที่น่าชม มีทรวดทรงสัณฐาน
เช่นอาคารอันวิษณุกรรมเทพบุตรเนรมิตไว้ มีฝาเสาและบันไดจัดแบ่งไว้
เป็นอย่างดี มีความงามอาทิผิด อักขระวิจิตรไปด้วยมาลากรรมและลดากรรมนานาชนิดพิศ
แล้วประหนึ่งว่า จะครอบงำความงามแห่งพระตำหนักของพระราชา งาม
สง่าเหมือนจะเย้ยหยันความงามของเทพวิมาน ปานประหนึ่งว่า สถานเป็น
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 六月 27, 2019

Dam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/40/14  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อุกฤษฏ์ คือ พูดกะอุปสัมบันผู้เป็นโรคเรื้อน. . .โรคฝี. . .โรคกลาก. . .โรค
มองคร่อ . . . โรคลมบ้าหมู ว่าท่านเป็นโรคเบาหวาน ดังนี้ ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ทุก ๆ คำพูด.
พูดยกยอกระทบโรค
[๒๒๐] อุปสัมบันปรารถนาจะด่า ปรารถนาจะสบประมาทอุปสัมบัน
ปรารถนาจะทำให้อัปยศ พูดกะอุปสัมบันมีโรคอุกฤษฏ์ ด้วยกล่าวกระทบโรค
อุกฤษฏ์ คือ พูดกะอุปสัมบันผู้เป็นโรคเบาหวาน ว่าท่านเป็นโรคเบาหวาน
ดังนี้ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ คำพูด.
อุปสัมบันด่าอุปสัมบันอาทิผิด อักขระ
พูดกดกระทบรูปพรรณ
[๒๒๑] อุปสัมบันปรารถนาจะด่า ปรารถนาจะสบประมาทอุปสัมบัน
ปรารถนาจะทำให้อัปยศ พูดกะอุปสัมบันมีรูปพรรณทราม ด้วยกล่าวกระทบ
รูปพรรณทราม คือ พูดกะอุปสัมบันผู้สูงเกินไป . . . ต่ำเกินไป . . .ดำเกินไป. . .
ขาวเกินไป ว่าท่านเป็นคนสูงนัก ว่าท่านเป็นคนต่ำนัก ว่าท่านเป็นคนดำอาทิผิด อักขระนัก
ว่าท่านเป็นคนขาวนัก ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ คำพูด.
พูดกดให้เลวกระทบรูปพรรณ
[๒๒๒] อุปสัมบันปรารถนาจะด่า ปรารถนาจะสบประมาทอุปสัมบัน
ปรารถนาจะทำให้อัปยศ พูดกะอุปสัมบันมีรูปพรรณอุกฤษฏ์อาทิผิด อักขระ ด้วยกล่าวกระทบ
รูปพรรณทราม คือ พูดกะอุปสัมบันผู้ไม่สูงนัก ...ไม่ต่ำนัก. ..ไม่ดำนัก. . .
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 六月 24, 2019

Chaeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 35/304/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อีกประการหนึ่ง ม้าอาชาไนยตัวเจริญบางตัวในโลกนี้ เห็นเงาปฏัก
ก็ไม่สลด ไม่ถึงความสังเวช แม้ถูกแทงด้วยปฏักที่ขุมขนก็ไม่สลด ไม่ถึง
ความสังเวช แม้ถูกแทงด้วยปฏักถึงผิวหนังก็ไม่สลด ไม่ถึงความสังเวช
แต่เมื่อถูกแทงด้วยปฏักถึงกระดูก จึงสังเวช ถึงความสลดว่า วันนี้นายสารถี
ผู้ฝึกม้าจักให้เราเหตุอะไรหนอ เราจักตอบแทนแก่เขาอย่างไร ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ม้าอาชาไนยตัวเจริญบางตัวในโลกนี้ แม้เห็นปานนี้ก็มี นี้เป็นม้า
อาชาไนยตัวเจริญที่ ๔ มีปรากฏอยู่ในโลก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ม้าอาชาไนย
ตัวเจริญ ๔ จำพวกนี้แล มีปรากฏอยู่ในโลก.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุรุษอาชาไนยผู้เจริญ ๔ จำพวก มีปรากฏอยู่
ในโลก ฉันนั้นเหมือนกัน ๔ จำพวกเป็นไฉน ? คือ บุรุษอาชาไนยผู้เจริญ
บางคนในโลกนี้ได้ฟังว่า ในบ้านหรือในนิคมโน้นมีหญิงหรือชายถึงความทุกข์
หรือทำกาลกิริยา เขาย่อมสลด ถึงความสังเวชเพราะเหตุนั้น เป็นผู้สลดแล้ว
เริ่มตั้งความเพียรไว้โดยแยบคาย มีใจเด็ดเดี่ยว ย่อมกระทำให้แจ้งอาทิผิด อักขระซึ่งปรม-
สัจจะด้วยนามกาย และเห็นแจ้งแทงตลอดด้วยปัญญา ม้าอาชาไนยตัวเจริญ
พอเห็นเงาปฏักย่อมสลดถึงความสังเวช แม้ฉันใด เรากล่าวบุรุษอาชาไนย
ผู้เจริญนี้เปรียบฉันนั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุรุษอาชาไนยผู้เจริญบางคนใน
โลกนี้ แม้เห็นปานอาทิผิด อักขระนั้นก็มี นี้เป็นบุรุษอาชาไนยผู้เจริญที่ ๑ มีปรากฏอยู่ในโลก.
อีกประการหนึ่ง บุรุษอาชาไนยผู้เจริญบางคนในโลกนี้ ไม่ได้ฟังว่า
ในบ้านหรือในนิคมโน้น มีหญิงหรือชายถึงความทุกข์ หรือทำกาลกิริยา แต่
เขาเห็นหญิงหรือชายผู้ถึงความทุกข์ หรือทำกาลกิริยาเอง เขาจึงสลด ถึง
ความสังเวช เพราะเหตุนั้น เป็นผู้สลดแล้ว เริ่มตั้งความเพียรไว้โดยแยบคาย
มีใจเด็ดเดี่ยว ย่อมกระทำให้แจ้งซึ่งปรมสัจจะด้วยนามกาย และเห็นแจ้ง
แทงตลอดด้วยปัญญา ม้าอาชาไนยตัวเจริญถูกแทงด้วยปฏักที่ขุมขนย่อมสลด
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 六月 23, 2019

Sarathi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 60/134/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ยังไม่ทันจะได้สมใจปองเลย มหาปฐพีได้แหวกช่องให้ ทันใดนั้นเอง เปลวเพลิง
จากอเวจีก็พวยพุ่งขึ้นโอบอุ้มเอาตัวไป พระเทวทัตนั้นคิดว่า บาปกรรมของเรา
ถึงที่สุดกันแล้ว หวนรำลึกถึงพระคุณของพระตถาคตเจ้า ดำรงในสรณะด้วย
คาถานี้ว่า
ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ผู้เป็นบุคคลเลิศ
เป็นเทพยิ่งกว่าเทพ เป็นสารถีอาทิผิด แห่งคนที่ควรฝึก มี
พระจักษุเห็นรอบด้าน ทรงบุญลักษณ์นับร้อยพระองค์
นั้น ด้วยลมปราณกับกระดูกทั้งหลายเหล่านี้ ดังนี้
ได้บ่ายหน้าไปอเวจี ก็แลสกุลอุปัฏฐากของพระเทวทัต นั้นได้มีถึง ๕๐๐ ตระกูล.
แม้ตระกูลเหล่านั้นพากันเข้าข้างพระเทวทัตนั้นด่าพระทศพล พากันไปใน
อเวจีทั้งนั้นเลย. พระเทวทัตนั้นชักจูงตระกูล ๕๐๐ ไปไว้ในนรกอเวจีด้วย
ประการฉะนี้.
ครั้นวันหนึ่ง พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนาในธรรมสภาว่า ผู้มี
อายุทั้งหลาย เทวทัตคนบาป ผูกความโกรธอันมิใช่ฐานะ ในพระสัมมาสัม-
พุทธเจ้า เพราะหมกมุ่นในลาภสักการะ ไม่มองดูภัยในอนาคตเลย ต้องบ่ายหน้า
ไปสู่อเวจีกับสกุลทั้ง ๕๐๐ พระศาสดาเสด็จมาถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อกี้พวกเธอประชุมสนทนากันด้วยเรื่องอะไรกัน ครั้นพากันกราบทูลให้
ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น ที่เทวทัต
หมกมุ่นในลาภและสักการะ ไม่มองดูภัยในอนาคต แม้ในกาลก่อน ก็ไม่มอง
ดูภัยในอนาคต ถึงความพินาศใหญ่หลวงกับพรรคพวก เพราะแสวงหาความสุข
เฉพาะหน้าดังนี้ แล้วทรงนำอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 六月 21, 2019

Dok Bua

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/134/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ประโยคมีอาทิว่า มหนฺตํ สปฺปราชวณฺณํ อภินิมฺมินิตฺวา เนรมิตทรวด
ทรงเป็นพญางูตัวใหญ่.
ชาติ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า พฺราหฺมณาว เสฏฺโฐ
วณฺโณ หีโน อญฺโญ วณฺโณ พวกพราหมณ์เท่านั้น มีชาติประเสริฐ
ชาติอื่นเลว.
รูปายตนะ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า ปรมาย
วณฺณโปกฺขรตาย สมนฺนาคตา ประกอบด้วยความงามแห่งรูปายตนะ
อย่างยิ่ง.
เหตุ เรียกว่า วณฺณ เช่นในคาถามีอาทิว่า
น หรามิ น ภญฺชามิ อารา สิํฆามิ วาริชํอาทิผิด สระ
อถ เกน นุ วณฺเณน คนฺธตฺเถโนติ วุจฺจติ
ข้าพเจ้ามิได้ขโมย ข้าพเจ้ามิได้หัก ข้าพเจ้า
ดมห่าง ๆ ซึ่งดอกบัว อาทิผิด อักขระเมื่อ เป็นเช่นนี้ เหตุไรเล่า
ท่านจึงกล่าวว่าขโมยกลิ่น.
ประมาณ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า ตโย ปตฺตสฺส
วณฺณา บาตร ๓ ขนาด.
คุณ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า กทา สํญุฬฺหา
ปน เต คหปติ อิเม สมณสฺส โคตมสฺสอาทิผิด อักขระ วณฺณา ดูก่อนคหบดี
ท่านประมวลคุณของพระสมณโคดมเหล่านี้ ไว้แต่เมื่อไร.
สรรเสริญ เรียกว่า วณฺณ เช่นในประโยคมีอาทิว่า วณฺณารหสฺส
วณฺณํ ภาสติ กล่าวสรรเสริญผู้ที่ควรสรรเสริญ.
ในพระบาลีนี้ วณฺณ หมายถึง ทั้งคุณ ทั้งสรรเสริญ.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 六月 18, 2019

Samphutsana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/373/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เหมือนพี่เลี้ยงอาบน้ำให้พระราชกุมารแล้วเอาผ้าที่ชอบใจห่มแล้ว เอาดอกไม้
ทั้งหลายประดับแล้ว หยอดยาตาแล้วต่อจากนั้นก็เอามโนศิลา (สีแดง) เจิมหน้า
ผากเพียงจุดเดียวเท่านั้น เพียงเท่านี้ยังไม่ชื่อว่า มีรอยเจิมที่สวยงาม แต่เมื่อ
พี่เลี้ยงเอาสีทั้งหลายมาเจิมล้อม จึงชื่อว่า มีรอยเจิมที่สวยงาม ความอุปมาเป็น
เครื่องเปรียบเทียบนี้ พึงเห็นฉันนั้นเถิด. นี้ชื่อว่า ปทัตถูติบท. ก็การกล่าว
บ่อย ๆ นั่นแหละ. ด้วยสามารถแห่งพยัญชนะ อรรถะ และอุปสรรค ชื่อว่า
ทัฬหีอาทิผิด อักขระกรรมบทเปรียบเหมือนเมื่อกล่าวว่า อาวุโสก็ดี ภันเตก็ดี ยักษ์ก็ดี งูก็ดี
ไม่ชื่อว่า กล่าวย้ำความ แต่เมื่อกล่าวว่า อาวุโส อาวุโส ภันเต ภันเต ยักษ์
ยักษ์ งู งู ดังนี้ จึงชื่อว่า กล่าวย้ำความ ฉันใด เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้า
ตรัสบทว่า ผัสสะก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นดุจการกดปลายไม้เท้า ไม่ชื่อว่า
เป็นการย้ำความ แต่เมื่อตรัสบ่อย ๆ ว่า ผัสสะ ผุสนา สัมผุสนาอาทิผิด อักขระ สัมผุสิตัตตัง
ด้วยสามารถแห่งพยัญชนะ อุปสรรคและอรรถนั่นแหละ จึงชื่อเป็นการตรัส
ย้ำความ การแสดงโดยปริยายอื่นย่อมได้ฐานะ ๒ ด้วยประการฉะนี้. บัณฑิต
พึงทราบเนื้อความในบททั้งหมด ในนิทเทสแห่งบทที่มีอยู่ด้วยสามารถแห่ง
ผัสสะแม้นี้เถิด.
คำว่า อยํ ตสฺมิํอาทิผิด สมเย ผสฺโส โหติ ความว่า กามาวจร-
มหากุศลจิตดวงที่หนึ่งย่อมเกิดขึ้นในสมัยใด ชื่อว่า ผัสสะนี้ย่อมมีในสมัยนั้น
การพรรณนานิทเทสบทแห่งผัสสะเพียงเท่านี้ก่อน.

อธิบายเวทนานิทเทสเป็นต้น

ก็ต่อจากนี้ไป ข้าพเจ้าพรรณนาซึ่งเหตุสักความต่างกันในนิทเทสอื่น ๆ
แห่งบทมีเวทนาเป็นต้น คำที่เหลือพึงทราบโดยนัยที่กล่าวไว้ในนิทเทสแห่ง
ผัสสะนี้แหละ.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 六月 16, 2019

Thewathat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 60/143/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทีเดียว. บทว่า ปจฺจุปฺปนฺนํ ความว่า เมื่อใดกิจอนาคตนั้น บังเกิดเป็น
ความต้องการขึ้น เมื่อนั้นย่อมพากันล่มจม ในเมื่อเกิดความต้องการขึ้นใน
ปัจจุบัน คือย่อมไม่ได้ที่พึ่งแก่ตน พากันถึงความพินาศ เหมือนพวกคนอัน
ช่างไม้พาลเหล่านั้น ที่พากันล่มจมในสมุทรฉะนั้น. บทว่า อนาคตํ ความว่า
ภิกษุทั้งหลาย บุรุษบัณฑิต พึงเตรียมกระทำ คือพึงทำก่อนทีเดียว ซึ่งกิจ
อนาคตที่ต้องทำก่อน จะเป็นกิจอำนวยผลภายหน้า หรือกิจอำนวยผลปัจจุบัน
ก็ตามที เพราะเหตุไรเล่า เพราะอย่าให้กิจเบียดเบียนเราได้ในคราวต้องการ
ด้วยว่ากิจที่ต้องกระทำให้เสร็จก่อน เมื่อไม่ทำไว้ก่อน ตอนที่ถึงความเป็นปัจจุบัน
ในภายหลัง ย่อมเบียดเบียน ด้วยการเบียดเบียนกายจิต ในเวลาที่ตนต้องการได้
เหตุนั้น บัณฑิตพึงกระทำกิจนั้นก่อนทีเดียว. บทว่า ตํ ตาทิสํ คือ ที่ทำ
ไว้เสร็จถึงความเป็นปัจจุบันในภายหลัง ย่อมไม่เบียดเบียนบีบคั้นบุรุษผู้ดำรง
อยู่อย่างนั้น. บทว่า ปฏิกตกิจฺจการึ คือผู้รีบรัดทำกิจที่ควรทำทันที. บทว่า
ตํ กิจฺจํ กิจฺจกาเล ความว่า กิจอนาคตที่จะต้องทำ ถึงความเป็นปัจจุบัน
ในภายหลัง ในเวลาที่กายและจิตอาพาธ ย่อมไม่เบียดเบียนบุรุษเช่นนั้น.
เพราะเหตุไร ? เพราะกระทำกิจเสร็จไว้ก่อนนั่นแล.
พระศาสดา ทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน เทวทัตมัวเกี่ยวเกาะสุขปัจจุบัน
ไม่มองดูภัยในอนาคต ถึงความพินาศพร้อมทั้งบริษัท ทรงประชุมชาดกว่า
ช่างไม้ผู้พาลในครั้งนั้น ได้มาเป็นเทวทัตอาทิผิด อักขระผู้ติดสุขในปัจจุบัน เทพบุตรผู้ไม่
ดำรงธรรมที่สถิต ณ ภาคใต้ ได้มาเป็นโกกาลิกะ เทพบุตรผู้ทรงธรรม
ที่สถิตทางทิศเหนือ ได้มาเป็นพระสารีบุตร ส่วนช่างผู้เป็นบัณฑิต
ได้มาเป็นเราตถาคตแล.
จบอรรถกถาสมุททวาณิชชาดก
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 六月 15, 2019

Kai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 51/131/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ถือเอาแว่นธรรม คือ ญาณทัสสนะของตน
ส่องดูร่างกายนี้ทั่วทั้งหมด ทั้งภายในภายนอก.
คือ ถือเอาแว่นธรรม แล้วพิจารณาโดยเฉพาะว่า ไม่เที่ยงบ้าง
เป็นทุกข์บ้าง เป็นอนัตตาบ้าง เห็นร่างกายอาทิผิด อักขระ คือ อัตภาพของเรานี้ อันเป็น
ที่ประชุมแห่งธรรม ชื่อว่าทั้งภายในภายนอก เพราะความเป็นอายตนะที่เป็นไป
ในภายในและภายนอก ทั้งหมดคือไม่มีส่วนเหลือ ด้วยญาณจักษุ ก็เราผู้เห็น
อยู่อย่างนี้ ทั้งภายในและภายนอก ได้แก่ ร่างกายคืออัตภาพ กล่าวคือขันธ-
ปัญจกะ ที่เว้นสาระมีความเที่ยงเป็นต้น จึงชื่อว่าเป็นของว่างเปล่า เราได้เห็น
แล้วตามความเป็นจริงด้วยญาณจักษุ.
แท้จริง ขันธปัญจกะแม้ทั้งสิ้น ท่านเรียกว่ากาย ดังในประโยคมีอาทิว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กายนี้ เป็นที่มาประชุมของคนเขลา ผู้อันอวิชชาครอบงำ
แล้ว ประกอบแล้วด้วยตัณหาอย่างนี้.
ก็พระเถระเมื่อจะแสดงความที่ตนเป็นผู้มีกิจอันกระทำสำเร็จแล้วว่า
ขันธปัญจกะใดแลอันเราพึงเห็นในกายนี้ ขันธปัญจกะนั้นอันเราเห็นแล้ว ไม่มี
ส่วนใดๆ ของขันธปัญจกะนั้นที่เราจะต้องเห็นอีก ดังนี้ พยากรณ์พระอรหัตผล
แล้ว ด้วยบทว่า อทิสฺสถ นี้.
พระเถระแสดงธรรมแก่หญิงผู้เป็นภรรยาเก่าด้วยคาถาเหล่านี้ อย่างนี้-
แล้ว ยังนางให้ตั้งอยู่ในสรณคมน์และศีลทั้งหลายแล้วส่งไป.
จบอรรถกถาปุณณมาสเถรคาถา
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 六月 13, 2019

Phongphaeo

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 51/148/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เถรคาถา ทุกนิบาต วรรคที่ ๔
๑. มิคสิรเถรคาถา
ว่าด้วยคาถาของพระมิคสิรเถระ
[๒๘๘] ได้ยินว่า พระมิคสิรเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า
เมื่อใด เราได้บวชในศาสนาของพระสัมมาสัม-
พุทธเจ้าแล้ว หลุดพ้นจากกิเลส ได้บรรลุธรรมอัน
ผ่องแผ้วอาทิผิด อาณัติกะแล้ว ล่วงเสียซึ่งกามอาทิผิด อักขระธาตุ เมื่อนั้น จิตของเรา
ผู้เพ่งธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นดังพรหม
หลุดพ้นแล้วจากกิเลสทั้งปวง และมารู้ชัดว่า วิมุตติ
ของเราไม่กำเริบ เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์
ทั้งปวง.

วรรควรรณนาที่ ๔
อรรถกถามิคสิรเถรคาถา
คาถาของท่านพระมิคสิรเถระ เริ่มต้นว่า ยโต อหํ ปพฺพชิโต.
เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ?
แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้า
องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในตระกูลพราหมณ์ ในกาลของ
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 六月 12, 2019

Lamdap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/265/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
รูปาวจรเป็นต้น. ก็หรือว่าช่างถาก เอาขวานถากไม้ใหญ่ที่บุรุษจับปลาย
คอยพลิกให้ ย่อมนำไปใช้งานได้ ฉันใด พระโยคาวจรพิจารณาธรรม
ที่วิตกคอยตรึกให้ด้วยปัญญา โดยนัยมีอาทิว่า ธรรมเหล่านี้เป็นกามาวจร
ธรรมเหล่านี้เป็นรูปาวจร ย่อมนำเข้าไปใช้งานได้ ฉันนั้น เพราะเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวว่า ก็สัมมาสังกัปปะมีอุปการะมากแก่สัมมาทิฏฐินั้น เพราะ-
ฉะนั้น จึงตรัสไว้ในลำดับแห่งสัมมาทิฏฐินั้น ดังนี้.
สัมมาสังกัปปะนี้นั้น มีอุปการะแก่สัมมาวาจา เหมือนดังมีอุปการะ
แก่สัมมาทิฏฐิฉะนั้น สมดังที่ตรัสไว้ว่า ดูก่อนคหบดี บุคคลตรึกแล้ว
พิจารณาแล้วในเบื้องต้นก่อนแล จึงเปล่งวาจา เพราะฉะนั้น พระองค์
จึงตรัสสัมมาวาจาไว้ในลำดับแห่งสัมมาสังกัปปะนั้น.
ก็เพราะเหตุที่คนจะต้องจัดแจงด้วยวาจาก่อนว่า เราจะกระทำสิ่งนี้
และสิ่งนี้ ดังนี้แล้ว จึงประกอบการงานในโลก เพราะฉะนั้น จึงตรัส
สัมมากัมมันตะไว้ในลำดับสัมมาวาจา เพราะวาจามีอุปการะแก่การงาน.
ก็เพราะเหตุที่ศีลมีอาชีวะเป็นที่ ๘ ย่อมบริบูรณ์แก่ผู้ละวจีทุจริต ๔ และ
กายทุจริต ๓ แล้วทำวจีสุจริตและกายสุจริตทั้งสองให้บริบูรณ์ ไม่
บริบูรณ์สำหรับคนนอกนี้ เพราะฉะนั้น จึงตรัสสัมมาอาชีวะไว้ในลำดับ
แห่งสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะทั้งสองนั้น.
เพื่อแสดงว่า ถ้าบุคคลผู้มีอาชีวะบริสุทธิ์อย่างนี้ กระทำความปลาบ
ปลื้มด้วยเหตุเพียงเท่านี้ว่า อาชีพของเราบริสุทธิ์ แล้วเป็นผู้ประมาท
เหมือนดังหลับอยู่ ไม่ควร โดยที่แท้ ควรต้องปรารภความเพียรนี้ทุก ๆ
อิริยาบถ จึงตรัสสัมมาวายามะไว้ในลำดับอาทิผิด อักขระแห่งสัมมาชีวะนั้น. ต่อแต่นั้น
เพื่อจะแสดงว่า แม้ปรารภความเพียรแล้ว ก็ควรการทำสติให้ตั้งมั่นใน
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 六月 10, 2019

Phawa

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/300/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ด้วยคำว่า ใครหนอเป็นเสนาบดี เสลพราหมณ์ทูลถามว่า เมื่อพระองค์เป็น
พระธรรมราชาหมุนล้อธรรมแล้ว ใครเป็นเสนาบดีหมุนตามล้อ.
ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระสารีบุตรนั่งอยู่ ทางเบื้องขวาของพระผู้มี
พระภาคเจ้า งามด้วยศิริดุจแท่งทอง. พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงชี้พระ-
สารีบุตรนั้น จึงตรัสคาถาว่า มยา ปวตฺติตํ เป็นต้น. ในคำเหล่านั้น คำว่า
อนุชาโต ตถาคตํ ความว่า ผู้เกิดเพราะพระตถาคตเจ้าเป็นเหตุ หมายความ
ว่า ผู้เกิดตามเพราะเหตุพระตถาคตเจ้า. อีกอย่างหนึ่ง บุตร ๓ จำพวกคือ
อนุชาตบุตร อวชาตบุตร อติชาตบุตร. ในบุตรเหล่านั้น อวชาตบุตร เป็น
ผู้ทุศีล เขาไม่ชื่อว่าเป็นบุตรของพระตถาคตเจ้า. ผู้ที่ยิ่งกว่าบิดาชื่อว่า อติชาต-
บุตร. บุตรแม้นั้นของพระตถาคตเจ้าไม่มี. แต่พระตถาคตเจ้ามีอนุชาตบุตร
จำพวกเดียวเท่านั้น. เมื่อทรงชี้บุตรนั้น จึงตรัสอย่างนั้น.
ครั้นพยาการณ์ปัญหาว่า ใครหนอเป็นเสนาบดี อย่างนี้แล้ว ซึ่งเสล
พราหมณ์กล่าวว่า พระองค์ทรงยืนยันว่าเป็นสัมพุทธะ พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงประสงค์จะกระทำพราหมณ์นั้นให้สิ้นสงสัย ในเพราะเหตุนั้น จึงตรัสคาถา
ว่า อภิญฺเญยฺยํ เป็นต้น เพื่อแสดงให้พราหมณ์ทราบว่า เรามิได้ปฏิญาณ
ด้วยอาการเพียงรับ รู้เท่านั้น แต่ว่าเราเป็นพระพุทธเจ้า เพราะเหตุนี้. ในคาถา
นั้น คำว่า อภิญฺเญยฺยํ เป็นต้น ได้แก่ วิชชา วิมุตติ มรรคสัจที่ควรเจริญ
และสมุทัยสัจที่ควรละ. อนึ่งแม้นิโรธสัจจ์และทุกขสัจจ์ อันเป็นผลแห่งสัจจะ
เหล่านั้น ย่อมเป็นอันตรัสแล้วทีเดียว เพราะผลสำเร็จด้วยการกล่าวถึงเหตุ.
คำนี้ว่า เราได้ทำให้แจ้งสิ่งที่พึงทำให้แจ้ง ได้กำหนดรู้สิ่งที่พึงกำหนดรู้แล้ว
อย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรวมมาไว้ในที่นี้นั่นแหละ. เมื่อทรงแสดงจตุสัจจ-
ภาวนา สัจจภาวนา ผล และวิมุตติ ทรงยังพุทธภาวะอาทิผิด อักขระให้สำเร็จ โดยเหตุ
อันสมควรว่า เราได้รู้ธรรมที่พึงรู้ เป็นพระพุทธเจ้าแล้วดังนี้.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 六月 09, 2019

Ubosot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์  54/81/6  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อัปสรแสนนางต่างบำรุงบำเรอข้าพเจ้าอยู่ทุกเมื่อ
ข้าพเจ้ารุ่งโรจน์เกินเทพเหล่าอื่นในกาลทั้งปวง ได้เป็น
มเหสีของเทวราช ๖๔ องค์ ได้เป็นมเหสีของพระเจ้า-
จักรพรรดิ ๖๓ องค์ ข้าพเจ้ามีวรรณะดังวรรณะแห่ง
ทอง ท่องเที่ยวไปในภพทั้งหลาย เป็นผู้ประเสริฐใน
ที่ทั้งปวง นี้เป็นผลแห่งอุโบสถอาทิผิด อักขระศีล. ข้าพเจ้าได้ยานช้าง
ยานม้า ยานรถ และวอทั้งปวงนี้ นี้เป็นผลแห่ง
อุโบสถศีล. ภาชนะทอง เงิน แก้วผลึกและปัทมราค
ข้าพเจ้าได้ทุกอย่าง ผ้าไหม ผ้าขนสัตว์ ผ้าเปลือกไม้
ผ้าฝ้าย และผ้าที่มีราคามาก ข้าพเจ้าได้ทุกอย่าง ข้าว
น้ำ ของเคี้ยว ผ้าและเสนาสนะ ข้าพเจ้าได้ทุกอย่าง
นี้เป็นผลแห่งอุโบสถศีล. ของหอมอย่างดี ดอกไม้ จุรณ
เครื่องลูบไล้ ข้าพเจ้าได้ทุกอย่าง นี้เป็นผลแห่งอุโบสถ-
ศีล. เรือนยอด ปราสาท มณฑป เรือนโล้นและถ้ำ
ข้าพเจ้าได้ทุกอย่าง นี้เป็นผลแห่งอุโบสถศีล. ข้าพเจ้า
เกิดได้ ๗ ปีก็บวชเป็นบรรพชิต บวชไม่ถึงครึ่งเดือน
ก็ได้บรรลุพระอรหัต ข้าพเจ้าเผากิเลสแล้ว ถอนภพ
ทั้งหมดขึ้นแล้ว อาสวะทุกอย่างหมดสิ้นแล้ว บัดนี้
ภพใหม่มิได้มี ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ ข้าพเจ้าทำ
กรรมใดไว้ในกาลนั้น ด้วยกรรมนั้น ข้าพเจ้าไม่รู้จัก
ทุคติ นี้เป็นผลแห่งอุโบสถศีล. ข้าพเจ้าเผากิเลสแล้ว
ฯลฯ ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 六月 07, 2019

Ubali

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 41/270/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บริวารของตน หลีกไป กล่าวว่า “โมคคัลลานะผู้มีอายุ กระผมจะไป
ยังสำนักติสสสามเณร” พระโมคคัลลานเถระ กล่าวว่า “ท่านผู้มีอายุ
แม้กระผมก็จักไปด้วย” ดังนี้แล้ว ก็ออกไปพร้อมกับภิกษุประมาณ ๕๐๐
รูป. พระมหาสาวกทั้งปวง คือ พระมหากัสสปเถระ. พระอนุรุทธเถระ
พระอุบาลีอาทิผิด อักขระเถระ พระปุณณเถระเป็นต้น ออกไปพร้อมกับภิกษุประมาณ
องค์ละ ๕๐๐ รูป โดยอุบายนั้นแล. บริวารของพระมหาสาวกแม้ทั้งหมด
ได้เป็นภิกษุประมาณ ๔ หมื่น. อุบาสกผู้บำรุงสามเณรเป็นประจำ เห็น
ภิกษุเหล่านั้น ผู้เดินทางประมาณ ๑๒๐ โยชน์ ถึงโคจรคามแล้ว ณ ประตู
บ้านนั่นเองต้อนรับไหว้แล้ว. ลำดับนั้น พระสารีบุตรเถระ ถามอุบาสก
นั้นว่า “อุบาสก วิหารอันตั้งอยู่ในป่าในประเทศนี้มีอยู่หรือ ?”
อุบาสก. มีขอรับ.
พระเถระ. มีภิกษุไหม ?
อุบาสก. มีขอรับ.
พระเถระ. ใคร อยู่ในที่นั้น ?
อุบาสก. วนวาสีติสสสามเณร ขอรับ.
พระเถระ. ถ้ากระนั้น ท่านจงบอกทางแก่พวกฉัน.
อุบาสก. ท่านเป็นภิกษุพวกไหน ? ขอรับ.
พระเถระ. พวกเรามาสู่สำนักของสามเณร.
อุบาสกแลดูภิกษุเหล่านั้น จำพระมหาสาวกแม้ทั้งหมดได้ นับ
ตั้งแต่พระธรรมเสนาบดีเป็นต้น . เขามีสรีระอันปีติถูกต้องแล้วหาระหว่าง
มิได้ กล่าวว่า “ท่านขอรับ ขอท่านจงหยุดก่อนเถิด” แล้วเข้าไปสู่
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 六月 04, 2019

Satcha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/254/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระอรหัตผล. ผู้บรรลุคุณควรบรรลุนั้น เหตุนั้น จึงชื่อว่า ปตฺติปตฺตา.
บทว่า อมตํ ได้แก่ พระนิพพาน. บทว่า วิคยฺห ได้แก่เข้าถึงโดยอารมณ์
บทว่า ลทฺธา แปลว่า ได้แล้ว. บทว่า มุธา ได้แก่ โดยไม่มีค่าคือ ไม่ทำ
ค่าแม้เพียงกากณึกหนึ่ง. บทว่า นิพฺพุตึ ได้แก่ ผลสมาบัติ ที่ระงับความ
กระวนกระวายด้วยอำนาจกิเลสเสียแล้ว. บทว่า ภุญฺชมานา ได้แก่ เสวย
อยู่. ท่านอธิบายไว้อย่างไร. ท่านอธิบายว่า ชนเหล่าใด ในศาสนาของพระ
โคดมนี้ ชื่อว่าประกอบดีแล้ว เพราะถึงพร้อมด้วยศีล ชื่อว่า มีใจหนักแน่น
เพราะถึงพร้อมด้วยสมาธิ ชื่อว่าไร้ความอาลัยเพราะถึงพร้อมด้วยปัญญา ชนเหล่า
นั้น ก็เข้าถึงอมตะด้วยสัมมาปฏิบัตินี้เป็นผู้ได้เปล่า ๆ เสวยความดับซึ่งเข้าใจได้
ว่าผลสมาบัติ ชื่อว่า เป็นผู้บรรลุคุณที่ควรบรรลุ.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้น ตรัสคุณของสังฆรัตนะ โดยพระขีณาสว-
บุคคล ผู้เสวยผลสมาบัติอย่างนี้แล้ว บัดนี้ทรงอาศัยคุณนั้นนั่นแล จึงทรง
ประกอบสัจจอาทิผิด สระวจนะ ว่า อิทมฺปิ สงฺเฆ รตนํ ปณีตํ แม้อันนี้ ก็เป็น
รัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ความแห่งสัจจวจนะนั้น พึงทราบตามนัยที่กล่าว
ก่อนแล้ว พวกอมนุษย์ในแสนโกฏิจักรวาล ก็พากันยอมรับพุทธอาชญาแห่ง
พระคาถาแม้นี้แล.

พรรณนาคาถาว่า ยถินฺทขีโล
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้น ตรัสสัจจวจนะมีสังฆรัตนะเป็นที่ตั้ง โดย
ขีณาสวบุคคล อย่างนี้แล้ว ทรงเริ่มตรัส โดยคุณของพระโสดาบันเท่านั้นว่า
ยถินฺทขีโล เป็นต้น. ในคำนั้น บทว่า ยถา เป็นคำอุปมา. คำว่า
อินฺทขีโล นี้ เป็นชื่อของเสาไม้แก่นที่เขาตอกจมดิน ๘ ศอก หรือ ๑๐ ศอก
ภายในธรณีประตู เพื่อป้องกันประตูพระนคร. บทว่า ปฐวึ แปลว่า แผ่นดิน
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 六月 01, 2019

Samothan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 8/329/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วัน เธอขอการชัก
เข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติตัวหนึ่งในระหว่าง ชื่อสัญ-
เจตนิกาสุกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วันกะสงฆ์ สงฆ์ชักภิกษุ
อุทายีเข้าหาอาทิผิด สระอาบัติเดิม เพื่ออาบัติตัวหนึ่งในระหว่าง ชื่อ
สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วัน การชักภิกษุ
อุทายีเข้าหาอาบัติเดิม เพื่ออาบัติตัวหนึ่งในระหว่าง ชื่อ
สัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิดบังไว้ ๕ วัน ชอบแก่ท่าน
ผู้ใดท่านผู้นั้นพึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่าน
ผู้นั้นพึงพูด
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ แม้ครั้งที่สอง....
ข้าพเจ้ากล่าวความนี้ แม้ครั้งที่สาม....
ภิกษุอุทายี อันสงฆ์ชักเข้าหาอาบัติเดิมแล้ว เพื่อ
อาบัติตัวหนึ่งในระหว่าง ชื่อสัญเจตนิกาสุกกวิสัฏฐิ ปิด
บังไว้ ๕ วัน ชอบแก่สงฆ์เหตุนั้นจึงนิ่ง ข้าพเจ้าทรง
ความนี้ไว้ อย่างนี้.
สโมธานอาทิผิด อักขระปริวาส
[๔๒๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล สงฆ์พึงให้สโมธานปริวาส
เพื่ออาบัติตัวก่อนอย่างนี้ ภิกษุอุทายีนั้นพึงเข้าไปหาสงฆ์ ห่มผ้าอุตรา
สงค์เฉวียงบ่า ไหว้เท้าภิกษุผู้แก่กว่า นั่งกระโหย่งประคองอัญชลี แล้ว
กล่าวคำขอ ว่าดังนี้ :-
 
พระปิฎกธรรม