Dam
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/40/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อุกฤษฏ์ คือ พูดกะอุปสัมบันผู้เป็นโรคเรื้อน. . .โรคฝี. . .โรคกลาก. . .โรค
มองคร่อ . . . โรคลมบ้าหมู ว่าท่านเป็นโรคเบาหวาน ดังนี้ ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ทุก ๆ คำพูด.
พูดยกยอกระทบโรค
[๒๒๐] อุปสัมบันปรารถนาจะด่า ปรารถนาจะสบประมาทอุปสัมบัน
ปรารถนาจะทำให้อัปยศ พูดกะอุปสัมบันมีโรคอุกฤษฏ์ ด้วยกล่าวกระทบโรค
อุกฤษฏ์ คือ พูดกะอุปสัมบันผู้เป็นโรคเบาหวาน ว่าท่านเป็นโรคเบาหวาน
ดังนี้ ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ คำพูด.
อุปสัมบันด่าอุปสัมบันอาทิผิด อักขระ
พูดกดกระทบรูปพรรณ
[๒๒๑] อุปสัมบันปรารถนาจะด่า ปรารถนาจะสบประมาทอุปสัมบัน
ปรารถนาจะทำให้อัปยศ พูดกะอุปสัมบันมีรูปพรรณทราม ด้วยกล่าวกระทบ
รูปพรรณทราม คือ พูดกะอุปสัมบันผู้สูงเกินไป . . . ต่ำเกินไป . . .ดำเกินไป. . .
ขาวเกินไป ว่าท่านเป็นคนสูงนัก ว่าท่านเป็นคนต่ำนัก ว่าท่านเป็นคนดำอาทิผิด อักขระนัก
ว่าท่านเป็นคนขาวนัก ดังนี้เป็นต้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ ทุก ๆ คำพูด.
พูดกดให้เลวกระทบรูปพรรณ
[๒๒๒] อุปสัมบันปรารถนาจะด่า ปรารถนาจะสบประมาทอุปสัมบัน
ปรารถนาจะทำให้อัปยศ พูดกะอุปสัมบันมีรูปพรรณอุกฤษฏ์อาทิผิด อักขระ ด้วยกล่าวกระทบ
รูปพรรณทราม คือ พูดกะอุปสัมบันผู้ไม่สูงนัก ...ไม่ต่ำนัก. ..ไม่ดำนัก. . .
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论