turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/41/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๔๖๓] ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่า ผู้นี้เป็นมาร
ผู้มีบาป จึงตรัสกะมารผู้มีบาปด้วยพระคาถาว่า
พระอริยสาวกย่อมเบื่อหน่ายในรูป
เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ
อย่างนี้ว่า เราไม่ใช่นั่น นั่นไม่ใช่ของเรา
แม้มารและเสนามารแสวงหาอยู่ในที่
ทั้งปวง ก็ไม่พบอริยสาวกอาทิผืด สระผู้เบื่อหน่ายแล้ว
อย่างนี้ มีอัตภาพอันเกษมล่วงพ้น.
สังโยชน์ทั้งปวงแล้ว.
ลำดับนั้น มารผู้มีบาปเป็นทุกข์ เสียใจว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
รู้จักเรา พระสุคตทรงรู้จักเรา ดังนี้ จึงได้หายไปในที่นั้นนั่นเอง.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 17/494/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งหลายจะแสวงหาตนหรือคนอื่น. ภิกษุทั้งหลายเรียนว่า ข้าแต่ท่าน
สัตบุรุษ เราทั้งหลายแสวงหาตน. พระเถระนั้นได้ให้กรรมฐานแก่ภิกษุ
เหล่านั้น. ภิกษุเหล่านั้นได้บรรลุอรหัตกันหมดทุกรูป. ภิกษุสงฆ์จึงได้
ส่งภิกษุจำพวกอื่นไปอีก. ภิกษุที่สงฆ์ส่งไปอย่างนี้ถึง ๓ ครั้ง ก็ได้บรรลุ
อรหัตเหมือนกันทั้งหมดแล้ว อยู่ (กับพระเถระนั้น). ต่อจากนั้นมา
พระสงฆ์เห็นว่า พระที่ไป ๆ แล้ว ไม่กลับมาอาทิผิด อักขระ จึงได้ส่งภิกษุหลวงตาอีก
รูปหนึ่งไป.
หลวงตานั้นครั้นไปถึงแล้ว ได้พูดว่า ข้าแต่ท่านธรรมทินนะ
ภิกษุสงฆ์สำนักติสสมหาวิหาร ส่งพระมาที่สำนักท่านถึง ๓ ครั้ง แต่ท่าน
เองไม่ทำความเคารพอาณัติสงฆ์ ไม่มา ( ไปตามคำสั่ง) พระเถระ
ตอบว่า นี่อะไรกัน ? แล้วให้หลวงตานั้นรับเอาบาตร และจีวรโดยไม่
ต้องเข้าบรรณศาลาแล้วออกไปในทันทีทันใดนั่นแหละ. ท่านได้แวะไปยัง
หังกนวิหาร๑ ในระหว่างทาง. และในหังกนวิหารนั้น มีมหาเถระรูปหนึ่ง
มีพรรษา ๖๐ ล่วงแล้ว ปฏิญาณตนเป็นพระอรหันต์ ด้วยมานะยิ่ง พระ
เถระเข้าไปหาท่านไหว้ กระทำปฏิสันถาร แล้วได้เรียนถามถึงคุณธรรม
ที่ได้บรรลุ. พระเถระกล่าวว่า เออ ท่านธรรมทินนะ กิจที่บรรพชิต
พึงทำ ผมได้ทำเสร็จนานแล้ว บัดนี้ ผมก็พรรษา ๖๐ ล่วงแล้ว. ท่าน
ธรรมทินนะ เรียนถามว่า ใต้เท้าครับ ใต้เท้าอาทิผิด ยังใช้ฤทธิ์อยู่บ้างหรือไม่ ?
ท่านตอบว่าใช้อยู่ ท่านธรรมทินนะ. ท่านธรรมทินนะ เรียนว่า ดีแล้ว
ครับ ใต้เท้า ขอนิมนต์ใต้เท้าเนรมิตช้างกำลังเดินมาประจันหน้าใต้เท้า
(ให้ดู ) เถิด. พระเถระรับคำนิมนต์แล้ว ได้เนรมิตช้างเชือกใหญ่
๑. ฉบับพม่าเป็น ตงฺขณวิหารํ ที่อยู่ชั่วคราว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/291/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีผิวงาม. ส่วนมือทั้งสอง เท้าทั้งสอง และริมฝีปากของนาง เป็นเช่น
กับแก้วประพาฬและผ้ากัมพลแดง ประหนึ่งฉาบทาด้วยน้ำครั่งอาทิผิด อาณัติกะ นี้ชื่อว่า
นางมีเนื้องาม. ส่วนเล็บทั้ง ๒๐ กาบเป็นเหมือนธารน้ำนม ในที่ที่พ้น
จากเนื้อ ประหนึ่งขจิตด้วยน้ำครั่งอาทิผิด อาณัติกะในที่ที่ไม่พ้นจากเนื้อ นี้ชื่อว่านางมี
เล็บงาม. ฟัน ๓๒ ซี่เรียบสนิท เป็นเสมือนแถวของแก้วประพาฬที่ขาว
บริสุทธิ์ ย่อมปรากฏเหมือนระเบียบแห่งเพชร นี้ชื่อว่านางมีกระดูกงาม.
นางแม้มีอายุ ๑๒๐ ปี เป็นเหมือนหญิงสาวอายุ ๑๖ ปี ไม่มีผมหงอกเลย
นี้ชื่อว่านางมีวัยงาม. และนางเป็นผู้มีความดีงามประกอบด้วยคุณสมบัติ
เห็นปานนี้. ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ชนปทกลฺยาณี นางงามใน
ชนบท.
บทว่า ฆรา นิกฺขมนฺตสฺส เป็นฉัฏฐีวิภัตติ ใช้ในอรรถอนาทร
อธิบายว่า เมื่อออกจากเรือน. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ฆรา นิกฺขมนฺติ
ดังนี้ก็มี. บทว่า อุปฑฺฒุลฺลิขิเตหิ เกเสหิ เป็นตติยาวิภัตติใช้ในลักษณะ
อิตถัมภูต อธิบายว่า นางเกล้าผมค้างอยู่. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า
อฑฺฒุลฺลิขิเตหิ ดังนี้ก็มี. ก็คำว่า อุลฺลิขิตํ เป็นการทำผมให้ตั้งอยู่โดย
เป็นทรงพังพาน. อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า อฑฺฒการวิธานํ ดังนี้ก็มี.
บทว่า อปโลเกตฺวา ได้แก่ ชำเลืองดูด้วยนัยน์ตาอันส่องถึงความซ่านไป
แห่งรสเสน่หา เหมือนผูกพันไว้. บทว่า มํ ภนฺเต ความว่า แม้เมื่อก่อน
นางก็ได้กล่าวซ้ำว่า มํ เอตทโวจ เพราะนางมีจิตวุ่นวายด้วยความ
กระสัน. บทว่า ตุวฏํ แปลว่า เร็ว. บทว่า ตมนุสฺสรมาโน ความว่า
ท่านนันทะหวนระลึกถึงคำของนางนั้น หรือคำที่ประกอบด้วยอาการของ
นางนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/281/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แจ้งสามัญญผลได้รวดเร็ว ชื่อว่า ปัญญาเร็ว เพราะแทงตลอดอภิญญา
ได้รวดเร็ว ชื่อว่า ปัญญาเร็ว เพราะทำให้แจ้งพระนิพพานอันเป็นประ-
โยชน์อย่างยิ่งได้รวดเร็ว. นี้ชื่อว่า ปัญญาเร็ว ในบทว่า ย่อมเป็นไปเพื่อ
ความเป็นผู้มีปัญญาเร็ว.
ในบทว่า ลหุปญฺญตาย สํวตฺตนฺติ ดังนี้ ปัญญาฉับพลันเป็นไฉน.
ฉับพลัน ฯลฯ ชื่อว่า ปัญญาฉับพลัน เพราะทำให้แจ้งพระนิพพาน
อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งได้ฉับพลัน. นี้ชื่อว่า ปัญญาฉับพลันอาทิผิด อักขระ ในบทว่า
ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นผู้มีปัญญาฉับพลัน.
ในบทว่า หาสปญฺญตาย สํวตฺตนฺติ ดังนี้ ปัญญาร่าเริงเป็นไฉน.
ชื่อว่า ปัญญาร่าเริง เพราะบุคคลบางคนในโลกนี้ มีความร่าเริงมาก มี
ความอิ่มใจมาก มีความยินดีมาก มีความปราโมทย์มาก บำเพ็ญศีล
ทั้งหลายให้บริบูรณ์ ฯลฯ ชื่อว่า ปัญญาร่าเริง เพราะทำให้แจ้งพระ-
นิพพานอันเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง. นี้ชื่อว่า ปัญญาร่าเริง ในบทว่า ย่อม
เป็นไปเพื่อความเป็นผู้มีปัญญาร่าเริง.
ในบทว่า ชวนปญฺญตาย สํวตฺตนฺติ ดังนี้ ปัญญาแล่นเป็นไฉน.
ชื่อว่า ปัญญาแล่น เพราะรูปอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นอดีต อนาคต และ
ปัจจุบัน เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต
อนาคต และปัจจุบันเป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลว
หรือประณีต อยู่ที่ไกลหรือใกล้ ปัญญาพลันแล่นไปยังวิญญาณทั้งปวง
โดยความเป็นของไม่เที่ยง. ชื่อว่า ปัญญาพลันแล่น เพราะพลันแล่นไป
โดยความเป็นทุกข์ โดยความเป็นอนัตตา. ชื่อว่า ปัญญาพลันแล่น เพราะ
พลันแล่นไปยังจักษุ ฯลฯ ชราและมรณะ อันเป็นอดีต อนาคต และ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/279/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงฉลาดในประเภทของปัญญา
ทรงมีพระญาณแตกฉาน ฯล ฯ บัณฑิตเหล่านั้นแต่งปัญหาแล้วเข้าไป
เฝ้าพระตถาคต ทูลถามทั้งข้อลี้ลับและปกปิด ปัญหาเหล่านั้นที่พระผู้-
มีพระภาคเจ้าตรัสบอกและทรงตอบแล้ว ย่อมเป็นอันทรงชี้เหตุให้เห็นชัด
และปัญหาที่เขายกขึ้นนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงตอบได้สมบูรณ์ โดย
แท้จริงแล้ว ในปัญหานั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบแจ่มแจ้งด้วย
พระปัญญา เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า มีพระปัญญาไม่มีของใครเทียบได้
เป็นชั้นเลิศ นี้ชื่อว่าปัญญาไม่มีของใครเทียบได้ ในบทว่า ย่อมเป็นไป
เพื่อความเป็นผู้มีปัญญาไม่มีของใครเทียบได้.
ในบทว่า ภูริปญฺญตาย สํวตฺตนฺติ ดังนี้ ภูริปัญญาเป็นไฉน.
ชื่อว่าภูริปัญญา เพราะครอบงำราคะอยู่. ชื่อว่าภูริปัญญา เพราะ
ครอบงำราคะได้แล้ว. ชื่อว่าภูริปัญญา เพราะย่อมครอบงำ โทสะ โมหะ
โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ มายา สาไถย
ถัมภะ สารัมภะ มานะอาทิผิด อักขระ อติมานะ มทะ ปมาทะ กิเลสทั้งปวง ทุจริต
ทั้งปวง อภิสังขารทั้งปวง ฯ ล ฯ กรรมอันเป็นเหตุนำไปสู่ภพทั้งปวง.
ชื่อว่าภูริปัญญา เพราะครอบงำแล้ว. ราคะ ชื่อว่าเป็นอริ. ปัญญาอันย่ำยีอริ
นั้น เหตุนั้น ชื่อว่าภูริปัญญา. โทสะ โมหะ ฯลฯ กรรมเป็นเหตุ
นำไปสู่ภพทั้งปวง ชื่อว่าเป็นอริ ปัญญาอันย่ำยีอรินั้น เหตุนั้น ชื่อว่า
ภูริปัญญา. แผ่นดินเรียกว่าภูริ ผู้ประกอบด้วยปัญญาอันแผ่ไปกว้างขวาง
เสมอแผ่นดินนั้น เหตุนั้น จึงชื่อว่า ภูริปัญโญ ผู้มีปัญญาเสมอแผ่นดิน.
อีกอย่างหนึ่ง คำนี้คือ ภูริ เมธา ปริณายิกา เป็นชื่อของปัญญา. นี้
ชื่อว่า ภูริปัญญา ในบทว่า ย่อมเป็นไปเพื่อความเป็นผู้มีภูริปัญญา.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/324/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ศาลาใด เป็นศาลายาวก็ดี เป็นศาลาใบไม้ก็ดี อยู่บนพื้นดิน, หรือว่า
เรือนที่เขาสร้างบนเสาไม้ทั้งหลายหลังใด เป็นที่ปลวกขึ้นได้ก่อน, ภิกษุเมื่อ
จะหลีกไปจากศาลายาวเป็นต้นนั้น พึงบอกอาทิผิด อักขระลาก่อนแล้วจึงหลีกไป. เพราะว่า
เมื่อสถานที่นั้นไม่มีใครปฏิบัติเพียง ๒-๓ วัน ตัวปลวกทั้งหลายย่อมตั้งขึ้น
ส่วนเสนาสนะใด เป็นเสนาสนะที่เขาสร้างไว้บนหินดาด หรือบนเสา
หินก็ดี ถ้าที่ภูเขาหินก็ดี เสนาสนะที่ฉาบโบกปูนขาวก็ดี ในเสนาสนะใดไม่มี
ความสงสัยในเรื่องปลวก (จะขึ้น), เมื่อภิกษุจะหลีกไปจากที่นั้น จะบอกลา
ก็ตาม ไม่บอกลาก็ตาม ไปเสีย ก็ควร. แต่การบอกลาย่อมเป็นธรรมเนียม
(ของผู้เตรียมจะไป). ถ้าตัวปลวกทั้งหลายจะขึ้นทางข้างหนึ่งในเสนาสนะแม้
เช่นนั้นได้ ควรบอกลาก่อนแล้วจึงไป.
ฝ่ายภิกษุอาคันตุกะใดประพฤติตามภิกษุผู้ถือเสนาสนะของสงฆ์อยู่ ไม่
ถือเสนาสนะสำหรับตนอาทิผิด อักขระอยู่. เสนาสนะนั้น เป็นธุระของภิกษุรูปก่อนนั่นแล
ตราบเท่าที่ภิกษุนั้นยังไม่ถือ (เสนาสนะสำหรับตนอาทิผิด อักขระ). ก็จำเดิมแต่ภิกษุนั้นถือ
เอาเสนาสนะแล้วอยู่โดยอิสระของตน เป็นธุระของภิกษุอาคันตุกะนั่นเอง. ถ้า
แม้ทั้ง ๒ รูปแจกกันแล้วถือเอา, เป็นธุระแม้ของท่านทั้ง ๒ รูป.
แต่ในมหาปัจจรีท่านกล่าวไว้ว่า ถ้าภิกษุ ๒-๓ รูป ร่วมกันจัดตั้ง,
ในเวลาจะไปควรบอกลาทุกรูป. ถ้าบรรดาภิกษุเหล่านั้น รูปหนึ่งไปก่อน ทำ
ความผูกใจว่า รูปหลัง จักปฏิบัติ แล้วไป ย่อมสมควร. ความพ้น (จาก
อาบัติ) ย่อมไม่มีแก่รูปหลัง เพราะความผูกใจ. ภิกษุมากรูป ส่งภิกษุรูปหนึ่ง
ให้ไปปู. ในเวลาจะไป ภิกษุทั้งหมดจึงบอกลา, หรือพึงส่งภิกษุรูปหนึ่งไป
บอกลา. ภิกษุนำเอาเตียงและตั่งเป็นต้นมาจากที่อื่น แม้อยู่ในที่อื่น ในเวลา
จะไป พึงนำไปไว้ในที่เดิมนั้นนั่นแหละ. ถ้าเมื่อภิกษุนำมาจากที่อื่นแล้วใช้อยู่,
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 34/82/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหมือนอย่างแก้วหรือหินที่ไม่ถูกเพชรเจาะเสียเลยย่อมไม่มีฉันใด บุคคลลางคน
ในโลกนี้กระทำให้แจ้ง ฯลฯ ในปัจจุบันนี่ฉันนั้น นี้เราเรียกว่าบุคคลมีจิต
เหมือนเพชรอาทิผิด อักขระ
นี้แล ภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๓ มีอยู่ในโลก.
จบวชิรสูตรที่ ๕
อรรถกถาวชิรสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในวชิรสูตรที่ ๕ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า อรุกูปมจิตฺโต ได้แก่ มีจิต เช่นกับแผลเรื้อรัง. บทว่า
วิชฺชูปมจิตฺโต ได้เเก่ มีจิตเช่นกับสายฟ้า เพราะส่องสว่างชั่วเวลาเล็กน้อย.
บทว่า วชิรูปมจิตฺโต ได้แก่มีจิตเช่นกับเพชร เพราะสามารถทำการโค่น
รากเง่าของกิเลสทั้งหลายได้. บทว่า อภิสชฺชติ แปลว่า ข้องอยู่. บทว่า
กุปฺปติ แปลว่า ย่อมกำเริบ ด้วยสามารถแห่งความโกรธ. บทว่า พฺยาปชฺชติ
ความว่า ละสภาพปกติ คือเป็นของเน่า. บทว่า ปติตฺถิยติ ได้แก่ย่อมถึง
ความหงุดหงิด คือความกระด้าง. บทว่า โกปํ ได้แก่ ความโกรธมีกำลังทราม.
บทว่า โทสํ ได้แก่ โทษะ ที่มีกำลังมากกว่าความหงุดหงิดนั้นด้วยสามารถ
แห่งความประทุษร้าย. บทว่า อปฺปจฺจยํ ได้แก่โทมนัส ที่เป็นอาการแห่ง
ความไม่พอใจ.
บทว่า ทุฏฺฐารุโก ได้แก่แผลเรื้อรัง. บทว่า กฏเฐน ได้แก่
ปลายไม้เท้า. บทว่า กถเลน ได้แก่ กระเบื้อง. บทว่า อาสวํ เนติ ได้แก่
ไหลติดต่อกันไป. อธิบายว่า แผลเรื้อรังจะหลั่งออกซึ่งของ ๓ อย่างนี้คือ
หนอง เลือด และเยื่อ ตามธรรมดาของตนอยู่แล้ว แต่เมื่อถูกกระทบเข้า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/277/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ท่านกล่าวว่า คือ ท่านพระมหากัสสปะเป็นผู้กำจัดกิเลสอาทิผิด อักขระและมีการ
สอนเรื่องกำจัดกิเลส ดังนี้.
บทว่า ธุตธมฺมา เวทิตพฺพา ความว่า ธรรม ๕ ประการ
อันเป็นบริวารของธุดงคเจตนาเหล่านี้ คือ ความเป็นผู้มักน้อย ๑
ความเป็นผู้สันโดษ ๑ ความเป็นผู้ขัดเกลา ๑ ความเป็นผู้สงัด ๑
ความเป็นผู้มีสิ่งนี้ ๑ ชื่อว่าธรรมเครื่องกำจัดกิเลส เพราะพระบาลี
ว่า อปฺปิจฺฉํเยว นิสฺสาย (อาศัยความมักน้อยเท่านั้น) ดังนี้
เป็นต้น. ในธรรม ๕ ประการนั้น ความมักน้อยและความสันโดษ
เป็นอโลภะ. ความขัดเกลาและความวิเวกจัดเข้าในธรรม ๒ ประการ
คือ อโลภะและอโมหะ. ความเป็นผู้มีสิ่งนี้คือ ญาณนั่นเอง. บรรดา
อโลภะและอโมหะเหล่านั้น กำจัดความโลภในวัตถุที่ต้องห้ามด้วย
อโลภะ กำจัดโมหะอันปกปิดโทษในวัตถุที่ต้องห้ามเหล่านั้นแหละ
ด้วยอโมหะ อนึ่งกำจัดกามสุขัลลิกานุโยคอันเป็นไปโดยมุข คือ
การส้องเสพสิ่งที่ทรงอนุญาต ด้วยอโลภะ กำจัดอัตตกิลมถานุโยค
อันเป็นไปโดยมุขคือ การขัดเกลายิ่งในธุดงค์ทั้งหลาย ด้วยอโมหะ
เพราะฉะนั้นธรรมเหล่านี้ พึงทราบว่าธรรมเครื่องกำจัดกิเลส.
บทว่า ธุตงฺคานิ เวทิตพฺพานิ ความว่า พึงทราบธุดงค์ ๑๓
คือ ปังสุกูลิกังคะ (องค์ของภิกษุผู้ถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร) ฯลฯ
เนสัชชิกังคะ (องค์ของภิกษุผู้ถือการนั่งเป็นวัตร).
บทว่า ธุตวาทานํ ยทิทํ มหากสฺสโป ความว่า ทรงสถาปนา
ไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะในระหว่างภิกษุผู้สอนธุดงค์ว่า มหากัสสป-
เถระนี้เป็นยอด. บทว่า มหากสฺสโป ความว่า ท่านกล่าวว่า ท่าน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/299/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ที่ย่อไว้ทั้งหมด พึงจำแนกให้พิสดาร.
บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม โดยความเป็นของ
ไม่เที่ยง ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภขันธ์นั้น จิต และ
สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ฯลฯ
โผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ, แก่
เจโตปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่
อนาคตังสญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
๗. อัชฌัตติกธรรม และพาหิรธรรม เป็นปัจจัยแก่
อัชฌัตติกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระที่
๗-๘-๙)
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๗๗] ๑. อัชฌัตติกธรรม เป็นอาทิผิด อาณัติกะปัจจัยแก่อัชฌัตติกธรรม
ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
จิต กระทำจิต ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ย่อมเกิดขึ้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 52/326/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ตั้งเราไว้ในเอตทัคคสถาน คุณวิเศษเหล่านี้ คือปฏิสัมภิทา
๔ ...ฯลฯ... คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าเราได้ทำเสร็จ
แล้ว ดังนี้.
ก็ท่านพระกาฬุทายี ครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว จึงคิดว่า รอก่อน
กาลนี้ยังไม่สมควร เพื่อการเสด็จไปสู่พระนครอันเป็นสกุลเดิมของพระ-
ทศพล, แต่เมื่อถึงฤดูฝนแล้ว ไพรสณฑ์จะมีดอกไม้บานสะพรั่ง จึงจัก
เป็นกาลเหมาะเพื่อการเสด็จไป บนภูมิภาคที่ดารดาษด้วยติณชาติเขียวขจี
ดังนี้แล้ว จึงเฝ้ารอกาล เมื่อถึงฤดูฝนแล้ว พอจะพรรณนาชมหนทางไป
เพื่อการเสด็จไปยังพระนครอันเป็นสกุลเดิมของพระศาสดา จึงกล่าวคาถา๑
เหล่านี้ว่า :-
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บัดนี้ หมู่ไม้ทั้งหลาย มีดอก
และใบสีแดงดุจถ่านเพลิง ผลิผลสลัดใบเก่าร่วงหล่นไป
หมู่ไม้เหล่านั้นงดงามรุ่งเรืองอาทิผิด อาณัติกะดุจเปลวเพลิง ข้าแต่พระองค์
ผู้มีความเพียรใหญ่ เวลานี้เป็นเวลาสมควรอนุเคราะห์หมู่
พระญาติ ข้าแต่พระองค์ผู้แกล้วกล้า หมู่ไม้ทั้งหลายมี
ดอกบานงดงามดี น่ารื่นรมย์ใจ ส่งกลิ่นหอมฟุ้งอาทิผิด ตลบไป
ทั่วทิศโดยรอบ ผลัดใบเก่า ผลิดอกออกผล เวลานี้เป็น
เวลาสมควรจะหลีกออกไปจากที่นี้ ขอเชิญพระพิชิตมาร
เสด็จไปสู่กรุงกบิลพัสดุ์เถิด ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ฤดูนี้
ก็เป็นฤดูที่ไม่หนาวนัก ไม่ร้อนนัก เป็นฤดูพอสบาย ทั้ง
มรรคาก็สะดวก ขอพวกศากยะและโกลิยะทั้งหลาย จง
๑. ขุ. เถร. ๒๖/ข้อ ๓๗๐.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/531/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระอุบาลีเถระจึงกล่าวว่า เมื่อกาลเที่ยงวันล่วงไปแล้ว จนถึงอรุณขึ้น ชื่อว่า
วิกาล แม้เวลาเที่ยงตรงก็ถึงการสงเคราะห์เข้าเป็นกาล. จำเดิมแต่เวลาเที่ยง
ตรงไป ภิกษุไม่อาจเพื่อจะเคี้ยวหรือฉันได้ (แต่) ยังอาจเพื่อจะรีบดื่มได้,
ส่วนภิกษุผู้มีความรังเกียจไม่พึงทำ. และเพื่อรู้กำหนดกาลเวลา ควรปักเสา
เครื่องหมายกาลเวลาไว้. อนึ่ง พึงทำภัตกิจภายในกาล.
ในคำว่า อวเสสํ ขาทนียํ นาม นี้ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้:- ใน
อาหารวัตถุมีขนมต้มเป็นต้น ๑ ทำสำเร็จมาแต่บุพพัณชาติ และอปรัณชาติมีคำ
ที่ควรจะกล่าวก่อนอย่างนั้น:-
วัตถุแม้ใด มีชนิดเช่นใบและรากเหง้าเป็นต้น เป็นของมีคติอาทิผิด อักขระอย่างอามิส,
นี้ คืออย่างไร ? คือ วัตถุแม้น เป็นต้นว่า รากควรเคี้ยว หัวควรเคี้ยว
เหง้าควรเคี้ยว ยอดควรเคี้ยว ลำต้นควรเคี้ยว เปลือกควรเคี้ยว ใบควรเคี้ยว
ดอกควรเคี้ยว ผลควรเคี้ยว เมล็ดควรเคี้ยว แป้งควรเคี้ยว ยางเหนียวควร
เคี้ยว ย่อมถึงการสงเคราะห์เข้าในขาทนียะ (ของควรเคี้ยว) ทั้งนั้น. ก็ใน
มูลขาทนียะเป็นต้นนั้น เพื่อกำหนดรู้ของควรเคี้ยวมีคติอย่างอามิส มีของควร
เคี้ยว ซึ่งจะชี้ให้เห็นพอเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้:-
[อธิบายของควรเคี้ยวที่จัดเป็นกาลิกต่าง ๆ]
พึงทราบวินิจฉัยในมูลขาทนียะก่อน :- ใบและรากที่ควรเป็นสูปะ
(กับข้าว) ได้ มีอาทิอย่างนั้น คือ มูลกมูล วารกมูล ปุจจุมูลตัมพกมูล
๑ อัตถโยชนา ๒/๗๐ สกฺขลิโมทโกติ วฏฺฏโมทโก. ชาวอินเดียเรียกขนมชนิดนี้ว่า ลัฑฑู นัยว่า ทำจากแป้งเป็นก้อนกลม ๆ ข้างในใส่ไส้แล้วทอดด้วยน้ำมันพืชลักษณะใกล้กับขนมต้มของไทย จึงได้แปลไว้อย่างนั้น. - ผู้ชำระ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/14/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เดียวคู่ ๑ ร่มใบไม้คันหนึ่ง และทรัพย์ ๑,๐๐๐ กหาปณะ พลาง
ตรัสว่าลูกรัก เจ้าจงไปยังเมืองตักกศิลา ร่ำเรียนเอาศิลปะมา แล้ว
ทรงส่งไป. พระราชโอรสรับพระราชโองการแล้วถวายบังคมพระ-
ชนกชนนีอาทิผิด อาณัติกะแล้วเสด็จออกไป บรรลุถึงเมืองตักกศิลาโดยลำดับ ได้ไป
ถามหาบ้านอาจารย์ก็ในเวลานั้น อาจารย์สอนศิลปะแก่พวกมาณพ
เสร็จแล้วลุกขึ้นมานั่ง ณ ที่ข้างหนึ่งที่ประตูเรือน. พระราชโอรสนั้น
ไปที่บ้านอาจารย์นั้น ได้เห็นอาจารย์นั่งอยู่ในที่นั้น ครั้นแล้วจึงถอด
รองเท้าตรงที่นั้นแหละ ลดร่ม ไหว้อาจารย์แล้วยืนอยู่ อาจารย์นั้น
รู้ว่าพระราชโอรสนั้นเหน็ดเหนื่อยมาจึงให้กระทำอาคันตุกสงเคราะห์.
พระกุมารเสวยพระกระยาหารเสร็จแล้ว พักผ่อนอยู่ครู่หนึ่ง จึงเข้าไป
หาอาจารย์ไหว้แล้วยืนอยู่ เมื่ออาจารย์ทิศาปาโมกข์ถามว่า เธอมา
จากไหนน่ะพ่อ จึงกล่าวตอบว่า มาจากเมืองพาราณสี. เธอเป็นลูก
ใคร ? เป็นโอรสของพระเจ้าพาราณสี. พระองค์เสด็จมาด้วยประสงค์
อะไร ? ท่านอาจารย์ข้าพเจ้ามาเพื่อต้องการเรียนศิลปะ พระองค์นำ
ทรัพย์อันเป็นส่วนของอาจารย์มาด้วยหรือเปล่า หรือพระองค์จะเป็น
ธัมมันเตวาสิก. พระราชกุมารนั้นกล่าวว่า ทรัพย์อันเป็นส่วนของ
อาจารย์ข้าพเจ้านำมาด้วยแล้ว ว่าแล้วก็วางถุงทรัพย์พันกหาปณะลงที่
ใกล้เท้าของอาจารย์แล้วก็ไหว้. อันศิษย์ที่เป็นธัมมันเตวาสิก เวลา
กลางวันต้องทำการงานให้อาจารย์ กลางคืนจึงจะได้เรียน ศิษย์ที่ให้
ทรัพย์อันเป็นส่วนของอาจารย์ เป็นเหมือนบุตรคนโตในเรือน เรียน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/91/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถ้าหากว่า ธรรมเหล่านี้ปรากฏแก่พระโยคาวจรนั้น โดยวรรณะเมื่อ
เป็นดังนั้น ผมทั้งหลายก็ปรากฏ โดยเป็นนีลกสิณ. ขน ฟัน ก็อย่างนั้น ย่อม
ปรากฏ โดยเป็นโอทาตกสิณ. ในทวัตติงสาการทุกอย่าง ก็นัยนี้. พระโย-
คาวจรนี้ ย่อมมนสิการธรรมเหล่านี้ โดยเป็นกสิณนั้น ๆ นั้นแล. ธรรมที่
ปรากฏโดยวรรณะอย่างนี้ พระโยคาวจรก็มนสิการโดยวรรณะ ก็ถ้าหากว่า
ธรรมเหล่านั้นปรากฏแก่พระโยคาวจรนั้น โดยความเป็นของว่างเปล่า เมื่อเป็น
ดังนั้น ผมทั้งหลายย่อมปรากฏ โดยเป็นการประชุมวินิพโภครูปที่มีโอชะอาทิผิด อักขระครบ ๘
ด้วยการกำหนดแยกออกจากกลุ่มก้อน. ขนเป็นต้น ก็ปรากฏเหมือนอย่างที่ผม
ปรากฏ. พระโยคาวจรนี้ ย่อมมนสิการธรรมเหล่านั้น อย่างนั้นเหมือนกัน.
ธรรมที่ปรากฏโดยความเป็นของว่างเปล่าอย่างนี้ ก็มนสิการโดยความเป็นของ
ว่างเปล่า.
พระโยคาวจรนี้ มนสิการอยู่อย่างนี้ ชื่อว่า มนสิการธรรมเหล่านั้น
โดยลำดับ. ข้อว่าโดยปล่อยลำดับ อธิบายว่า พระโยคาวจร ปล่อยผมที่ปรากฏ
โดยเป็นอสุภะเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง และมนสิการขน เป็นผู้เพ่งเฉยอยู่ใน
ผมทั้งหลายแล้วมนสิการขนทั้งหลาย เมื่อตั้งมนสิการในขนทั้งหลาย ก็ชื่อว่า
ปล่อยผม เปรียบเหมือนปลิง เพ่งเฉยอยู่ที่ประเทศอันจับไว้ด้วยหาง ปล่อย
ประเทศอื่นทางจะงอยปาก เมื่อจับประเทศนั้นไว้ ก็ชื่อว่าปล่อยประเทศนอกนี้
ฉะนั้น. ในทวัตติงสาการทุกอย่าง ก็นัยนี้. ก็ธรรมเหล่านั้น เมื่อปรากฏ
แก่พระโยคาวจรนั้น ผู้มนสิการ โดยปล่อยลำดับอย่างนี้ ย่อมปรากฏไม่เหลือเลย
ทั้งปรากฏว่าปรากฏชัดกว่า.
เมื่ออาทิผิด เป็นดังนั้น ธรรมเหล่าใด ปรากฏโดยความเป็นของไม่งามแก่
พระโยคาวจรใด ทั้งปรากฏว่าปรากฏชัดกว่า เปรียบเหมือนลิงถูกพรานไล่
ตะเพิดไปในดงตาล ๓๒ นี้ ไม่หยุดอยู่แม้แต่ต้นเดียว โลดโผไป เมื่อใด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 37/269/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สึกอาทิผิด อักขระมาเป็นคฤหัสถ์ ด้วยกราบทูลพระผู้อาทิผิด สระมีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทำได้ยาก ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทำได้
แสนยาก อีก ๖๐ รูป จิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.
จบ อัคคิขันธูปสูตรที่ ๘
อรรถกถาอัคคิขันโขปม๑สูตรที่ ๘
อัคคิกขันโธปมพระสูตรที่ ๘ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้
แล้ว ในเหตุเกิดแห่งเรื่องอาทิผิด อาณัติกะ. ก็การเกิดขึ้นแห่งเรื่อง. ก็การแสดงขึ้น
แห่งเรื่อง แห่งพระสูตรนี้ กล่าวไว้แล้วโดยพิสดาร ในจูฬัจฉรา-
สังฆาตสูตร ในหนหลังนั่นแหละ. บทว่า ปสฺสถ โน ตัดบทเป็น
ปสฺสถ นุ แปลว่า เธอทั้งหลาย เห็นหรือหนอ. บทว่า อาลิงฺคิตฺวา
แปลว่า สวมกอด. บทว่า อุปนิสีเทยฺย แปลว่า พึงเข้าไปนั่งใกล้อาทิผิด อักขระ.
บทว่า อาโรจยามิ แปลว่า เราจะบอก. บทว่า ปฏิเวทยามิ ความว่า
เราจะกล่าวประกาศเตือนให้ทราบ. บทว่า วาลรชฺชุยา ความว่า
ด้วยเชือกอันบุคคลฟั่นแล้ว ด้วยขนหางม้าและขนหางโค. บทว่า
ปจฺโจรสฺมึ ได้แก่ที่กลางอาทิผิด อักขระอก. บทว่า เผณุทฺเททกํ ความว่า ยังฟอง
๑. ปาลิ. ว่า อัคคิขันธูปม.....
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/8/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทราบสันนิษฐานว่า คำนั้นท่านกล่าวตามทำนองโวหารที่ยกขึ้นแต่แรกนั่น เอง.
ในคำอื่น ๆ นอกจากคำนี้ แม้อื่นอีกแต่เห็นปานนี้ก็นัยนั้น.
ถามว่า ก็อะไรเป็นประโยชน์ในการกล่าวคำนั้นเล่า ?.
ตอบว่า การแสดงเหตุตั้งอาทิผิด อักขระแต่แรกแห่งวินัยกรรมทั้งหลาย มีบรรพชา
เป็นต้น เป็นประโยชน์.
จริงอยู่ ผู้ศึกษาพึงทราบว่า ประโยชน์ในการกล่าวคำนั้น ก็คือการ
แสดงเหตุตั้งแต่แรกแห่งวินัยกรรมทั้งหลาย มีบรรพชาเป็นต้นเหล่านั้น อย่าง
นี้ว่า บรรพชาและอุปสมบทอันใด ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตอย่างนี้
ว่า ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตบรรพชาและอุปสมบทด้วยไตรสรณคมน์เหล่านี้
ดังนี้๑ และวัตรทั้งหลายมีอุปัชฌายวัตร อาจริยวัตรเป็นต้นเหล่าใด ซึ่งทรง
อนุญาตในที่ทั้งหลายมีกรุงราชคฤห์เป็นต้น บรรพชาอุปสมบทและอุปัชฌาย-
วัตรเป็นต้น เหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบรรลุอภิสัมโพธิญาณแล้ว ให้
๗ สัปดาห์อาทิผิด อักขระผ่านพ้นไปที่โพธิมัณฑ์ ทรงประกาศพระธรรมจักรในกรุงพาราณสี
แล้ว เสด็จถึงสถานนี้ ๆ โดยลำดับนี้ ทรงบัญญัติแล้วเพราะเรื่องนี้ ๆ.
ในบทเหล่านั้น บทว่า อุรุเวลายํ. ได้แก่ ที่แดนใหญ่. อธิบายว่า
ที่กองทรายใหญ่. อีกประการหนึ่ง ทราย เรียกว่าอุรุ, เขตคัน เรียกว่าเวลา.
แลพึงเห็นความในบทนี้ อย่างนี้ว่า ทรายที่เขาขนมาเพราะเหตุที่ล่วงเขตคัน
ชื่ออุรุเวลา.
ได้ยินว่า ในอดีตสมัย เมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติ กุลบุตรหมื่น
คนบวชเป็นดาบสอยู่ที่ประเทศนั้น วันหนึ่งได้ประชุมกันทำกติกาวัตรไว้ว่า
ธรรมดากายกรรม วจีกรรม เป็นของปรากฏแก่ผู้อื่นได้ ฝ่ายมโนกรรม หา
๑. มหาวคฺค ปฐม. ๔๒.
พระปิฎกธรรม