星期四, 九月 05, 2019

Suek

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/269/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สึกอาทิผิด อักขระมาเป็นคฤหัสถ์ ด้วยกราบทูลพระผู้อาทิผิด สระมีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทำได้ยาก ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทำได้
แสนยาก อีก ๖๐ รูป จิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะไม่ถือมั่น.
จบ อัคคิขันธูปสูตรที่ ๘

อรรถกถาอัคคิขันโขปมสูตรที่ ๘
อัคคิกขันโธปมพระสูตรที่ ๘ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้
แล้ว ในเหตุเกิดแห่งเรื่องอาทิผิด อาณัติกะ. ก็การเกิดขึ้นแห่งเรื่อง. ก็การแสดงขึ้น
แห่งเรื่อง แห่งพระสูตรนี้ กล่าวไว้แล้วโดยพิสดาร ในจูฬัจฉรา-
สังฆาตสูตร ในหนหลังนั่นแหละ. บทว่า ปสฺสถ โน ตัดบทเป็น
ปสฺสถ นุ แปลว่า เธอทั้งหลาย เห็นหรือหนอ. บทว่า อาลิงฺคิตฺวา
แปลว่า สวมกอด. บทว่า อุปนิสีเทยฺย แปลว่า พึงเข้าไปนั่งใกล้อาทิผิด อักขระ.
บทว่า อาโรจยามิ แปลว่า เราจะบอก. บทว่า ปฏิเวทยามิ ความว่า
เราจะกล่าวประกาศเตือนให้ทราบ. บทว่า วาลรชฺชุยา ความว่า
ด้วยเชือกอันบุคคลฟั่นแล้ว ด้วยขนหางม้าและขนหางโค. บทว่า
ปจฺโจรสฺมึ ได้แก่ที่กลางอาทิผิด อักขระอก. บทว่า เผณุทฺเททกํ ความว่า ยังฟอง
๑. ปาลิ. ว่า อัคคิขันธูปม.....
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: